Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
วางแผนเป็นผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน (Planned or Non-urgent)
เป็นการรับแบบที่มีการจัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
การรับแบบฉุกเฉิน (Emergency admission)
เป็นการนอนพักรักษา
ในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
การรับโดยตรง
(Direct admission)
เป็นการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
ผู้ป่วยนอก (Outpatient)
ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง เช่น กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาล
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
ประสบการณ์ในอดีตมีความสำคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย
การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
อุปกรณ์ที่จำเป็นตามความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย
เช่น เสื้อผ้าชุด
โรงพยาบาล ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า
เครื่องมือตรวจสัญญาณชีพ น้ำหนักและส่วนสูง
สมุดบันทึกการรับใหม่
เครื่องใช้ส่วนตัว
กรณีไม่มีให้อาจแจ้งให้ผู้ป่วยหรือญาติเตรียมมาให้พร้อม เช่น สบู่ ครีมทาตัว แป้ง
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย นำเหยือกน้ำ แก้วน้ำ
สร้างสัมพันธภาพ ให้การต้อนรับผู้ป่วยและญาติด้วยถ้อยคำ สีหน้า
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย การลงทะเบียนรับเป็นผู้ป่วยใน
ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ตามสภาพอาการของผู้ป่วย
นำผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนำให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง และให้นอนพักสักคร
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม
1 more item...
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วย หมายถึง การจำหน่ายผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
การจำหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่าถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การจำหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับในกรณีผู้ป่วยหนีกลับจะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อทำการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในฟอร์มใบบันทึกทางการพยาบาล
การจำหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม
การจำหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
ใบสั่งยา
กรณีถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้ำ สาลี
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
D = Diagnosis
ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
M = Medication
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ชื่อยาฤทธิ์ของยา วิธีการใช้ เป้นต้น
E = Environment & Economic
กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสำคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน
T = Treatment
แนะนำผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
H = Health
ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำกิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
O = Outpatient referral
ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
D = Diet
ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมง
Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้ าๆ (Bluish
purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย
Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิด
จากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การแต่งศพ หมายถึง การดูแลศพให้เรียบร้อยพร้อมเคลื่อนย้ายไปยังห้องศพการแต่งศพ
วัตถุประสงค์ของการแต่งศพ
เตรียมศพให้สะอาด เรียบร้อยพร้อมย้ายไปยังห้องศพ
ดูแลจัดการตามข้อกฎหมาย
ดูแลจัดเก็บของใช้ ของต้องทิ้งหรือทำลายได้ถูกต้อง
ประสานงานหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
เขียนบันทึกรายงานที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
ขั้นตอนการแต่งศพ
อธิบายให้ญาติผู้ป่วยเข้าใจ เมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต
ล้างมือก่อนจัดเตรียมของใช้
เตรียมอุปกรณ์ เช่น ชุดทำความสะอาดร่างกาย เสื้อผ้าชุดใหม่
จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อม กั้นม่าน/ ฉากให้เรียบร้อย
เก็บอุปกรณ์การรักษาพยาบาลทุกชนิดออกจากศพ
1 more item...
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชน บัตรข้าราชการ
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาล
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
1 more item...