Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจาหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจาหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
11.1 ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
11.1.1 ผู้ป่วยใน (Inpatient) ระยะเวลาของการนอนพักรักษาในโรงพยาบาลมากกว่า 24 ชั่วโมง เช่น ผู้ป่วยโรคปอดบวม โรคหัวใจวาย ประสบอุบัติเหตุกระดูกหัก โรคหลอดเลือดสมองตีบ
11.1.2 ผู้ป่วยนอก (Outpatient) ระยะเวลาของการอยู่ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 24 ชั่วโมง เช่น กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ ที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอก
11.2 หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
11.2.1 ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆของโรงพยาบาล และการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รวมถึงข้อระเบียบปฏิบัติต่างๆ
11.2.2 ความกังวลต่อความเจ็บป่วย พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การพยากรณ์โรค และการรักษา
11.2.3 ประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญต่อการแสดงออกของผู้ป่วย พยาบาลควรจะพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีตในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาล
11.2.4 การคานึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตาม ความเหมาะสม ซึ่งการเรียกผู้ป่วยควรเรียกชื่อ และมีคานาหน้านามที่เหมาะสม
11.2.5 ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านนิสัยและการแสดงพฤติกรรม ตลอดจนความเชื่อที่เป็นของตนเอง
11.2.6 การวางแผนให้การพยาบาลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ โดยวางแผนการพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล
11.3 วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
11.3.1 วัตถุประสงค์
1) ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบและกิจวัตรของโรงพยาบาล ได้อย่างถูกต้อง
2) ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล เหมาะสม ครบถ้วน
3) ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย และจิตสังคม ได้ถูกต้อง
4) ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล เต็มใจและให้ความร่วมมือใน การรักษาพยาบาล
5) ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
6) ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพความเจ็บป่วย
11.3.2 การเตรียมอุปกรณ์ เมื่อได้รับแจ้งจากแผนกผู้ป่วยนอกในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาไว้ในโรงพยาบาล
11.3.3 ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
3) ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย การลงทะเบียนรับเป็นผู้ป่วยใน และลายเซ็น รับผู้ป่วยของแพทย์จากบัตรตรวจโรคของโรงพยาบาลให้ตรงกับเจ้าหน้าที่แผนกผู้ป่วยนอกที่แจ้งมา
4) ชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง ตามสภาพอาการของผู้ป่วย ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถยืนได้
2) สร้างสัมพันธภาพ ให้การต้อนรับผู้ป่วยและญาติด้วยถ้อยคา สีหน้า แววตา กิริยาท่าทางที่เป็นมิตร สุภาพ อ่อนโยน สนใจ เข้าใจ เห็นใจ ยอมรับในตัวผู้ป่วยและญาติ
5) นาผู้ป่วยไปที่เตียง แนะนาให้รู้จักผู้ป่วยอื่นที่อยู่ร่วมห้อง และให้นอนพักสักครู่
1) เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่โดย นาเหยือกน้า แก้วน้า กระโถน ปรอทวัดไข้ เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
6) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิตเพื่อเป็นการประเมินสภาพแรกรับไว้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
7) อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วย และให้คาแนะนำ
11.4 สาเหตุและอุปกรณ์การจาหน่ายผู้ป่วย
11.4.1 ประเภทการจาหน่ายผู้ป่วย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
3) การจาหน่ายเนื่องจากผู้ป่วยหนีกลับ ในกรณีผู้ป่วยหนีกลับจะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อทาการบันทึกไว้เป็นหลักฐานในฟอร์มใบบันทึกทางการพยาบาล
4) การจาหน่าย เนื่องจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม ผู้ช่วยพยาบาลจะต้องให้ความช่วยเหลือ ในการให้ข้อมูล ตั้งแต่แรกรับถึงอาการรุนแรง การช่วยเหลือของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์
2) การจาหน่ายโดย ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า ถ้ามีอะไรเกิดขึ้นกับผู้ป่วย แพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น
5) การจาหน่ายผู้ป่วยเนื่องจากมีการส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น หากการจาหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลนั้น
1) การจาหน่ายผู้ป่วยเมื่อมีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
11.5 บทบาทพยาบาลในการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
3) ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย ครอบครัว และผู้ดูแล
4) ส่งเสริมการใช้แหล่งประโยชน์ ที่จาเป็น
2) พัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองของผู้ป่วย ครอบครัว และผู้ดูแล
5) ควบคุมค่าใช้จ่ายของสถานพยาบาล
1) ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจากัดในการทากิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ญาติ มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
T = Treatment แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา แนะนาให้ปฏิบัติกิจกรรมการรักษา
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสาคัญของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึงความสาคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ แนะนาแหล่งประโยชน์หรือสถานที่ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องอาหาร
11.6 ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
11.6.2 Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้าๆ (Bluish purple) ตามบริเวณส่วนล่างของร่างกาย ซึ่งเป็นผลจากเม็ดเลือดแดงถูกทาลาย
11.6.3 Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโครงกระดูก และกล้ามเนื้อเรียบ เพื่อป้องกันศพผิดรูปร่าง
11.6.1 Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C (1.8◦F) ต่อชั่วโมงจนเท่าอุณหภูมิห้อง เนื่องจากการไหลเวียนเลือดหยุด และ Hypothalamus หยุดทางาน
11.7 การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
11.7.2 การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วยการปฏิบัติตามหลักศาสนาและประเพณีภายหลังถึงแก่กรรม
11.7.3 หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
11.7.1 การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม