Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาระบบทางเดินหายใจ
ยาบรรเทาอาการคัดจมูก (Nasal decongestant)
α1-adrenergic receptor
agonists
ทำให้หลอดเลือดที่โพงจมูกหดตัว
ลดการคั่งของเลือดในหลอดเลือด
รูเปิดของโพรงอากาศในจมูกเปิดกว้าง หายใจสะดวกขึ้น
ชนิดรับประทาน
Pseudoephedrine และ Phenylephrine
ระวังในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ hyperthyroid ทำให้ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
ระวังในผู้ป่วยต้อหิน เพิ่มความดันในตาสูง
ชนิดใช้เฉพาะที่ในจมูก
เป็นยาชนิดยาพ่นจมูกและชนิดยาหยอดจมูก
Oxymetazoline
Xylometazoline
Tetrahydrozoline
Ephedrine
Phenylephrine
Naphazoline
ข้อควรระวัง
การใช้เป็นระยะเวลานานจะเกิด Rebound congestion
หากใช้มากกว่า 5 วัน ควรใช้ยารับประทาน
อาจทำให้ระคายเคืองเยื่อบุจมูก
ยาต้านฮิสตามีน (antihistamine )
Autacoid (local hormones)
พบใน Mass cells and Basophils
ก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้
Second - generation
• Cetirizine
• Loratadine
• Fexofenadine
• Desloratadine
• Levocetirizine
ข้อบ่งใช้ แก้แพ้ลดน้ำมูก ลดผดผื่นคัน ภูมิแพ้ allergic rhinitis
First – generation
• Brompheniramine (BPM) แก้แพ้ ลดน้ำมูก
• Chlorpheniramine (CPM) แก้แพ้ ลดน้ำมูก
• Diphenhydramine ลดอาการไอ
• Hydroxyzine (Atarax ®) ลดผดผื่นคัน
• Dimenhydrinate แก้อาการเมารถ
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงซึม (drowsiness)
ปากแห้งคอแห้ง (Dry mouth or throat)
ปัสสาวะลำบาก
ท้องผูก
ใจสั่น
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
ใช้ในการรักษาภาวะหอบหืด (Asthma) และ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease: COPD)
Anticholinergic
ยับยั้งการทำงานของ M3 receptor ทำให้หลอดลมคลายตัว
Ipratropium , Tiotropium (Spiriva®)
ปากแห้ง ง่วงวึม ปัสสาวะลำบาก
β2 agonists
ออกฤทธิ์สั้น (Short-acting β2 adrenergic receptor agonist: SABA) ได้แก่ Salbutamol/ Albuterol,Terbutaline, Procatero • ใช้สำหรับบรรเทาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน
ออกฤทธิ์ยาว(Long-acting β2 adrenergic receptor agonist: LABA) ได้แก่ Salmeterol, Formoterol ใช้เป็นประจำเพื่อควบคุมอาการหลอดลมตีบเกร็ง
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว อาการสั่น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
Xanthine
derivatives
ออกฤทธิ์ผ่าน adenosine receptor antagonist
ออกฤทธิ์เป็น non selective Phosphodiesterase (PDE) inhibitor
Theophylline (Theo-Dur®) (Narrow therapeutic index)
Aminophylline
ใจสั่น ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดหัว เกิด drugs interaction กับยาหลายชนิด
ยาขยายหลอดลม + ยา steroid
ลดการอักเสบและขยายหลอดลม
Fluticasone , Budesonide , Beclomethasone
ยาที่ใช้รักษาอาการไอ (Cough preparations)
การไอเป็นกลไกป้องกันร่างกายตามธรรมชาติ ไอเพื่อขับสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ
การแบ่งลักษณะการไอ
ลักษณะอาการแสดง
ไอแห้ง (Non-productive/ Dry
Cough)
ไอมีเสมหะ (Productive Cough)
ระยะเวลา
ไอเฉียบพลัน (< 3 สัปดาห์)
ไอเรื้อรัง (> 3 สัปดาห์)
ยาที่ใช้รักษาอาการไอ
ยากดการไอ (Antitussives)
ใช้ระงับการไอแบบไอแห้ง โดยเฉพาะไอรุนแรง
Central anti-tussives
Narcotic antitussive
Codeine , อนุพันธุ์จากฝิ่น (Qpium) เช่น ทิงเจอร์ฝิ่น
ยับยั้ง cough reflex โดยการยับยั้งที่ cough center
ใน medulla
ระงับไอได้ดีมาก ใช้กรณีไอรุนแรง และไอแห้ง
กดการหายใจ ทำให้ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ระวังในโรคหอบหืดและ COPD (Chronic obstructive pulmonary
disease )
Non-narcotic antitussive
Dextromethorphan (Romilar®)
ยับยั้ง cough reflex โดยการยับยั้งที่ cough center
ใน medulla
ไม่มีฤทธิ์ลดปวด
ระงับไอได้น้อยกว่า Codeine
ง่วงนอน
Butamirate (Sinecod®)
ออกฤทธิ์กดศูนย์การไอที่ medulla
ลดการอักเสบและการหดตัวของหลอดลม
มึนเวียนศีรษะ
Peripheral anti-tussives
ทำให้ลดการส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นที่ศูนย์การไอ
local anesthetics เช่นลูกอมหรือยาพ่นที่มีสารทำให้ชาหรือเย็น
demulcent เช่น licorice lozenges, honey
Levodopropizine (Levopront®) ยับยั้งการไอที่ถูกกระตุ้นด้วยสารเคมี และสารก่อภูมิแพ้
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
Guaifenesin (Glyceryl guaiacolate)
Ammonium carbonate
อื่นๆ เช่น น้ำมันหอมระเหย(volatile oil) เช่น Eucalyptus oil,
ชะเอม (liquorice)
ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร ท้องร่วง
คลื่นไส้ อาเจียน
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
Acetylcysteine , Bromhexin (Bisolvon®) ,Ambroxol (Mucocolvan®) , Carbocysteine
ทำให้เสมหะมีความข้นเหนียวลดลง ถูกขับออกมาง่ายมากขึ้น