Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพืชสมุนไพร - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพืชสมุนไพร
ยาสมุนไพร
หมายถึง ยาที่ได้จากพืช สัตว์ หรือแร่ ไม่ได้ผสมปรุงแต่ง ตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน ใช้เป็นยาป้องกันบำบัดรักษาโรคในรูปแบบยาผง ยาต้น ยาดองเหล้า
ส่วนประกอบของพืชสมุนไพร
1. ราก
สมุนไพรส่วนที่ใช้ราก เช่น กระชายแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปลาไหลเผือก แก้ไข้ มะละกอใช้ขับปัสสาวะ
2. ลำต้น
สมุนไพรส่วนที่ใช้ลำตัน เช่น อ้อยแดง ใช้แก้อาการขัดเบา ชิงช้าชาลี บอระเพ็ด ใช้แก้ไข้
3. ใบ
สมุนไพรที่ใช้ใบ เช่น กระเพราะใช้ได้ทั้งใบสดหรือแห้งแก้ปวดท้อง ท้องขึ้นจุกเสียด ขี้เหล็กรักษาอาการท้องผูก
4. ดอก
สมุนไพรที่ใช้ดอก เช่น กานพลูมีน้ำมันหอมระเหย มีฤทธิ์ขับลมฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ขับพยาธิ ดีปลีแก้ท้องอืด
5. ผล
สมุนไพรที่ใช้ผล เช่น มะเกลือ ดีปลี มะแว้งต้น กระวาน
หลักการทั่วไปในการเก็บสมุนไพร
ประเภทรากหรือหัว เก็บในช่วยที่พืชหยุดเจริญเติบโต ใบ ดอกร่วงหมด หรือในช่วงต้นฤดูหนาว เก็บโดยการขุดอย่างระมัดระวัง เช่น กระชาย กระทือ ข่า
ประเภทใบหรือเก็บทั้งต้น ควรเก็บในช่วงที่พืชเจริญเติบโตมากที่สุด เก็บโดยการเด็ด เช่น กระเพรา ขลู่ ฝรั่ง
ประเภทเปลือกตนและเปลืกราก เปลือกต้นเก็บระหว่างช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ส่วนเปลือกรากเก็บในช่วงต้นฤดูฝนเหมาะที่สุด
ประเภทดอก เก็บในช่วงดอกเริ่มบาน เช่น กานพลู
ประเภทผลและเมล็ด บางชนิดอาจเก็บในช่วงผลยังไม่สุก เช่น ฝรั่ง ผลแก่เต็มที่ เช่น มะแว้งต้น มะแว้งเครือ ดีปลี
สมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
1. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการโรคกระเพาะอาหาร
1.1 กระเจี๊ยบมอญ
1.2 กล้วยน้ำว้า
1.3 ขมิ้นชัน
3. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการท้องผูก
3.1 ขี้เหล็ก
ข้อระวัง
หากรับประทานเกินขนาด จะเกิดอาการท้องเสีย วิงเวียนศีรษะ
3.2 คูน
ข้อระวัง
หากรับประทานมากเกินไปจะอาการคลื่นไส้ ท้องอืด ปวดท้อง
3.4 ชุมเห็ดไทย
3.3 ชุมเห็ดเทศ
3.5 มะขามแขก
ข้อระวัง
สตรีมีครรภ์หรือมีประจำเดือนห้ามรับประทาน
3.6 มะขาม
ข้อระวัง
หากรับประทานมากเกินไปจะเกิดท้องร่วงอย่างรุนแรง
2. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด
2.1 กระชาย
2.2 กระทือ
2.4 กระเพรา
2.3 กระเทียม
2.5 กานพลู
2.6 ข่า
2.7 ขิง
2.8 ตะไคร้
4. สมุนไพรที่ใช้แก้อาการท้องเสีย
4.1 กล้วยน้ำว้า
4.2 ทับทิม
4.3 ฝรั่ง
4.4 ฟ้าทะลายโจร
ข้อระวัง
หากแพ้ยา มีอาการปวดท้อง ปวดเอว เวียนศีรษะ ให้หยุด
4.5 มังคุด
4.6 สีเสียด
5. สมุนไพรบรรเทาอาการบิด
5.1 มังคุด
5.2 ทับทิม
6. สมุนไพรบรรเทาอาการคลื่นไส้
6.1 กะเพรา
6.2 ขิง
6.3 ยอ
8. สมุนไพรบรรเทาพยาธิในลำไส้
8.1 ฟักทอง
8.3 มะขาม
8.2 มะเกลือ
8.4 มะหาด
8.5 เล็บมือนาง
8.6 สะแก
7. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการเบื่ออาหาร
7.1 บอระเพ็ด
7.2 ฟ้าทะลายโจร
9. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการไอ/ขับเสมหะ
9.3 เพกา
9.1 ขิง
9.2 ดีปลี
9.4 มะขาม
9.5 มะนาว
9.6 มะเเว้งเครือ
10. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการขัดเบา/ขับปัสสาวะ
10.1 กระเจี๊ยบแดง
10.2 ขลู่
10.3 ชุมเห็ดไทย
10.4 ตะไคร้
10.5 ผักกาดน้ำ
10.6 สับปะรด
10.7 หญ้าคา
10.8 หญ้าหนวดแมว
10.9 อ้อยแดง
รูปแบบของยาสมุนไพร
สมุนไพรสดๆ เช่น วุ้นจากใบว่านหางจระเข้สด ใช้ทาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ควรระวังในเรื่องของความสะอาด
ยาต้น ยานี้ต้องกินในขณะที่ยายังอุ่นๆ
ยาชง ใช้สมุนไพรแห้งชง
ยาดอง ใช้สมุนไพรแห้งดอง เติมเหล้าโรงให้ท่วมห่อยา ทิ้งไว้ 7 วัน
ยาปั้นลูกกลอน หั่นสมุนไพรสดเป็นแว่นบางๆ ผึ่งแดดให้แห้ง บดเป็นผง เพื่อให้ยาปั้นได้ง่ายไม่ติดมือ
ยาตำคัั้นเอาน้ำกิน นำสมุนไพรสด มาตำให้ละเอียดหรือจนกระทั้งเหลว คั้นเอาน้ายาจากสมุนไพรมารับประทาน
ยาพอก ใช้สมุนไพรสดตำให้แหลกที่สุดให้พอเปียก
เวลาใช้ยา
ส่วนมากนิยมรับประทานก่อนอาหารเพื่อไม่ให้สรรพคุณยาเสียไปจากการย่อย
ข้อควรระวังในการใช้ยาสมุนไพร
ควรใช้ยาตามหลักการรักษาของแพทย์แผนโบราณอย่างเคร่องครัด
อย่าใช้ยาเข้มข้นเกินไป
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
ขนาดที่ระบุไว้ในตำรับยามักเป็นขนาดของผู้ใหญ่ เด็กต้องลดขนาดลง
ไม่ควรใช้ยาสมุนไพรนานเกินความจำเป็น ถ้าใช้ 3-5 วันยังไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์
ควระวังความสะอาดของสมุนไพร
อาการแพ้ที่อาจพบได้จากการใช้ยาสมุนไพร
ผื่นขึ้นตามผิวหนังอาจเป็นตุ่มเล็กๆ ตุ่มโตๆ
ประสาทรับความรู้สึกทำงานไวเกินปกติ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ใจสั่น ใจเต้น
ตัวเหลืง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเหลือง
อาการเจ็บป่วยและโรคที่ไม่ควรใช้สมุนไพรรักษา
1.ไข้สูง ตาแดง ปวดเมื่อย ซึม บางทีเพ้อ
ไข้สูง ตัวเหลือง อ่อนเพลีย
ปวดท้องแถวๆรอบสะดือ เอามือกดเจ็บ ท้องแข็ง
เจ็บแปลบๆในท้อง ปวดท้องรุนแรง ตัวร้อน
อาเจียน ไอ มีเลือดออกมาด้วย
ท้องเดินอย่างรุนแรง ถ่ายเป็นน้ำ ถ่ายติดต่อกัน
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือก ถ่ายบ่อย เพลียมาก
เด็กต่ำกว่า 12 ปี ตัวร้อนมาก ไอมาก หายใจเสียงผิดปกติ หน้าเขียว
มีเลือดสดๆ ออกมา จากทางใดก็ตาม
โรคร้ายแรงอื่นๆ เช่น โรคเรื้องรัง
คำแนะนำและการป้องกันอันตรายจากการใช้ยาสมุนไพร
ต้องได้รับการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องเสียก่อน
ต้องใช้สมุนไพรให้ถูกส่วน ถูกอายุ
ศึกษาใช้ยาสมุนไพรให้ถูกชนิด
ใช้ให้ถูกขนาด ขนาดยามีความสำคัญมาก
ต้องใช้ให้ถูกวิธี ถ้าผิดอาจเกิดพิษ
การใช้ยาครั้งแรก ให้ทดลองใช้แต่น้อยก่อน
การรับประทานยาสมุนไพรนี้ ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานๆ
ข้อแนะนำในการเลือกซื้อยาสมุนไพร
ดูว่ามีทะเบียนยาถูกต้องหรือไม่
ดูวันผลิตยา และวันหมดอายุ
ดูลักษณะภายนอก เช่น สี กลิ่น รส
ดูว่ามีราขึ้นหรือไม่
ดูภาชนะบรรจุว่าอยู่ในสภาพที่ดีหรือไม่
ดูแหล่งผลิตยาว่าน่าเชื่อถือหรือไม่
สมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
11. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการแพ้ อักเสบ และพิษแมลงกัดต่อย
11.1 ขมิ้นชัน
11.2 ตำลึง
11.3 ผักบุ้งทะเล
11.4 พลู
11.5 พญายอ
11.6 เสลดพังพอน
11.7 เทียนบ้าน
12. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการแผลพุพอง ฝีหนอง
12.1 เทียนบ้าน
13. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
13.1 บัวบก
13.2 มะพร้าว
13.3 ว่านหางจระเข้
14. สมุนไพรที่ใช้รักษากลาก เกลื้อน
14.1 กระเทียม
14.3 ชุมเห็ดเทศ
14.2 ข่า
14.4 ทองพันชั่ง
15. สมุนไพรรักษารังแค/ชันนะตุ
15.1 มะกรูด
15.2 มะคำดีควาย
16. สมุนไพรรักษาอาการไข้
16.1 บอระเพ็ด
16.2 ปลาไหลเผือก
16.3 ย่านาง
17. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการปวด เคล็ดขัดยอก
17.1 พริก
17.2 ไพล
18. สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการปวดฟัน
18.1 กานพลู
18.2 แก้ว
18.3 ข่อย
18.4 ผักคราด
19. สมุนไพรกำจัดเหา
19.1 น้อยหน่า
20. อาหารเสริมสุขภาพ
20.1 กระเทียม
20.2 ข้าวกล้อง
20.3 คำฝอย
20.4 ถั่วพู
20.5 ถั่วเหลือง
21. สมุนไพรแต่งสีอาหาร
21.1 กระเจี๊ยบแดง
21.2 ขมิ้น
21.3 คำฝอย
21.7 อัญชัน
21.4 คำแสด
21.5 เตย
21.6 ฝาง
สมุนไพรผักพื้นบ้าน
กระเจียว (อาวแดง)
ช้าเลือด (ผักปู่ย่า)
ผักกระสัง (ผักฮากกลัวย)
ผักขี้หูด (ผักเปิ๊ก)
ผักชี (หอมป้อม)
ผักเซียงดา (ผักเจียงดา)
ผักปลาบ
ผักไผ่
มะกอก
มะลิวัยล์ (ผักแส้ว)