Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร, นางสาวลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต 60204248…
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร
ทักษะด้านการรับสาร
การฟัง
จุดมุ่งหมายของการฟัง
เพื่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์
เพื่อสังคม (รักษามารยาท,ความบันเทิง)
ประโยชน์
ต่อตนเอง
รับรู้เรื่องราวที่ฟังได้ตลอด
ช่วยพัฒนาด้านภาษา
เป็นสารยาทในการเข้าสังคม
ต่อสังคม
สามารถนำความรู้ ความคิดต่างๆ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
กระบวนการฟัง
เข้าใจสิ่งที่ได้ยิน
ตีความสิ่งที่ได้ยิน
ตามความคิด,ความรู้,ประสบการณ์
มีสมาธิต่อสิ่งที่ได้ยิน
รับรู้เรื่องราว,สาระ
การตอบสนอง
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท
รับรู้และเข้าใจ
มารยาทการฟัง
การฟังระหว่างบุคคล
ตั้งใจฟัง สายตามองผู้พูด ไม่พูดแทรก แสดงกิริยาให้ทราบว่าสนใจ
การฟังกลุ่ม
เดินทางไปถึงสถานที่ฟังก่อน 15 นาที มีความสำรวม แต่งกายสุภาพ แสดงกิริยาให้เหมาะสม
ความหมายและความสำคัญ
เป็นกระบวนการสื่อสารที่มนุษย์ใช้มากที่สุด
การฟังทำให้เกิดความรอบรู้และความบันเทิง
วิธีการพัฒนาการฟัง
ฝึกปฏิบัติให้ได้ตามขั้นตอนการฟัง
พยายามจดบันทึกขณะฟัง
รู้จักสังเกตอวัจนภาษาของผู้พูด
จับใจความสำคัญ
ไม่ใจแคบ
ฟังอย่างสุภาพและตั้งใจ
เตรียมความที่จะฟัง
ฟังให้ครบ
รักษามารยาทในการฟัง
การฟังเชิงรุก
เป็นการฟังที่ไม่ใช้ประสบการณ์ อคติ ความคาดหวังของตนไปตัดสิน มีการวิเคราะห์ แยกแยะ สังเกตอาการของผู้พูดประกอบ
การอ่าน
จุดมุ่งหมาย
เพื่อหาคำตอบ
เพื่อปฏิบัติตาม
เพื่อความรู้
เพื่อความเพลิดเพลิน
ประโยชน์
ต่อตนเอง
สร้างความรู้หรือประสบการณ์ใหม่ สามารถนำไปปรับใช้ได้
ต่อสังคม
สร้างความรู้ ความคิดพัฒนาสังคมให้ดียิ่งขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดกันภายในสังคม
กระบวนการอ่าน
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือข้อความชัดเจนแล้วสามารถเข้าใจได้
เข้าใจความหมายของสาร
มีปฏิกิริยาต่อสาร (การตองสนอง)
การบูรณาการความคิด (ปรับความคิดให้จากเดิม)
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมาย
เป็นการอ่านอย่างละเอียด สามารถแยกแยะสิ่งที่อ่านได้ สามารถแยกข้อเท็จจริงและสรุปความคิดรวบยอดได้
ประโยชน์
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนแต่ละชิ้น มองเห็นความสัมพันธ์ของข้อความแต่ละส่วนว่ามีความสัมพันธ์และประกอบกันเข้ามาเป็นงานเขียนแต่ละชิ้นได้อย่างไร
ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆเพื่อจะได้เป็นความรู้ ความคิด และพัฒนาปัญญา
ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการอ่านให้แก่ตนเอง และทำให้เกิดความรัก ความชื่นชม และเล็งเห็นคุณค่าของงานเขียนนั้นๆ
ช่วยให้ผู้อ่านนำเอาวิธีการและผลจากการอ่านมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต หรือใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้
ความหมายและความสำคัญ
ช่วยพัฒนาความคิดและยกระดับสติปัญญา ช่วยพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ แก้ปัญหาในใจและช่วยพัฒนาบุคคลิกภาพ
ทักษะการส่งสาร
การเขียน
ลักษณะงานเขียนที่ดี
มีความกระจ่าง (ผู้อ่านกับผู้เขียนเข้าใจตรงกัน)
มีรูปแบบงาานเขียนเหมาะสมกับจุดหมายและเนื้องาน
มีสัมพันธภาพ (วางโครงเรื่องให้สัมพันธ์กัน)
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด (หาข้อมูลเพิ่มเติมให้น่าเชื่อถือ)
มีเอกภาพ (มีขอบเขต,เป้าหมาย)
มีจีนตนาการที่สอดคล้องกับเนื้อหา
ใชภาษาให้ถูกต้องและเหมาะสม (รู้จักการใ้สำนวน คำคมให้สอดคล้อง)
เรื่องราวชวนติดตาม (สร้างความประทับใจให้กับผู้อ่าน)
มีจุดมุ่งหมายงานเขียนที่ดี
การพัฒนาทักษะการเขียน
หลักการเขียนย่อหน้า
ต้องยาวพอที่จะอธิบายความคิดได้แจ่มแจ้ง ต้องไม่สั้นจนกลายเป็นการนำหัวข้อมาเรียงๆ กันโดยไม่อธิบายให้เห็นว่าหัวข้อนั้นสัมพันธ์กันอย่างไร และต้องไม่ยากจนกระทั่งมีความคิดหลายความคิดปะปนกันไปหมด
ย่อหน้าไม่ควรยาวมากเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจจุดประสงค์มากขึ้น
ความสั้นหรือยาวแต่ละย่อหน้าไม่ควรแตกต่างกันมากนัก
องค์ประกอบย่อหน้า
ใจความสำคัญ (ความคิดของผู้เขียนที่อยากให้ผู้อ่านเข้าใจ)
ประโยคขยายความ (ช่วยให้ผู้อ่านเข้าผู้เขียนมากขึ้น)
กลวิธีขยายใจความสำคัญ
ให้คำจำกัดความ(เพื่ออธิบายขอบเขตของเรื่อง)
ให้เหตุผล (ขยายความเรื่องที่เขียน)
ให้รายละเอียด เพื่อให้ทราบเรื่องราวได้สมบูรณ์
ยกตัวอย่าง (ทำให้ผู้อ่านเข้าใจหรือเห็นด้วยกับผู้เขียน
การเปรียบเทียบกับสิ่งตรงข้าม (เพื่อให้ชัดเจนขึ้น)
ลักษณะย่อหน้าที่ดี
มีเอกภาพ (แต่ละย่อหน้าจ้องเขียนให้ใจความสำคัญเพียงประการเดียว)
มีสัมพันธภาพ (เรียบเรียงข้อความย่อหน้าให่ต่อเนื่องกัน)
มีสารัตถภาพ (เน้นย้ำใจความสำคัญ)
สมบูรณ์ (แต่ละย่อหน้าต้องเขียนจุดมุ่งหมาย เนื้อหา สาระสำคัญ รายละเอียด ส่วนขายที่ชัดเจน)
ความหมายและความสำคัญ
เป็นการถ่ายทอดความรู้ แระสบการณ์และวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น
ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
ความหมาย
การสื่อความหมาย โดยเรียบเรียงความรู้ ความรู้สึก ประสบการณ์ของผู้เขียนออกมาอย่างอิสระ
ประโยชน์
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และยังเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้เขียน
ช่วยให้มีความรู้ ความซาบซึ้งในวรรณคดีที่มีคุณค่าต่าง ๆ
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน ท้าทายสำหรับครู
หลักเกณฑ์
มีความแปลกใหม่ มีลักษณะเฉพาะตัว
เน้นความคิดแบบเอกนัย (ความรู้ ความคิดสิ่งใหม่ๆ)
ผู้สอนจะต้องใช้กลวิธีที่จะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด พัฒนาความคิดของตนเอง และมีอิสระที่จะแสดงความคิดของตนได้อย่างเต็มที่
ก่อนที่จะลงมือเขียนแต่ละครั้ง ครูควรจะให้เด็กได้ตั้งจุดมุ่งหมายและสำรวจความคิดของตนเองเสียก่อน
ควรจะกระตุ้นให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมให้สัมพันธ์กับความคิดใหม่
กระบวนการในการทำงานสำคัญเท่ากับผลงาน กระบวนการนี้เริ่มตั้งแต่ช่วงเวลาเตรียมตัวผู้เขียนได้รับปัญหา
การสอนแบบสร้างสรรค์จะประสบผลสำเร็จมากกว่าล้มเหลว ถึงแม้เด็กบางคนจะทำไม่ได้ แต่นั้นเป็นประสบการณ์หนึ่งของเขา
ในการพิจารณาผลงาน ครูจะต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
จะต้องอาศัยกระบวนการแบบประชาธิปไตย
การประเมินผล
เนื้อเรื่องควรพิจารณาแนวคิดหรือแนวเรื่องการจัดระเบียบความคิด การอ้างเหตุผล การขยายความและความแจ่มแจ้ง ชัดเจน
การใช้ภาษาควรพิจารณาระดับของภาษาที่ใช้ว่าถูกต้องตามกาลเทศะ และลักษณะของเรื่อง พิจารณาการใช้คำ ประโยค การเขียนย่อหน้า การเว้นวรรคตอน การใช้สำนวนโวหาร คำพังเพยและสุภาษิตต่าง ๆ
รูปแบบควรพิจารณาเฉพาะการเขียนที่มีแผนแน่นอนว่า ทำได้ถูกทุกรูปแบบการเขียนชนิดนั้น ๆ หรือไม่ เช่น เรียงความ บทความ
กลไกประกอบการเขียนอื่น ๆ ได้แก่ สะกด การันต์ ลายมือ ความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย
การพูด
ความหมายและความสำคัญ
พฤติกรรมการสื่อความหมายของมนุษย์โดยอาศัยภาษา ผ่านถ้อยคำ น้ำเสียง และอาจมีกิริยาท่าทางร่วมด้วย เพื่อถ่ายทอดความคิดและความรู้สึก การพูดมีความสำคัญยิ่งต่อมนุษย์
องค์ประกอบการพูด
ผู้ฟัง
ผู้ฟังที่ดีจะต้องรู้ว่าผู้พูดพูดถึงเรื่องอะไร สิ่งที่พูดหมายความว่าอย่างไร มีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน รวมทั้งต้องสามารถวิเคราะห์ได้ว่าการพูดครั้งนั้น ๆ
เนื้อหา
ผู้พูดจึงต้องคำนึงด้วยว่าเนื้อหาที่พูดนั้นมีความยากง่าย เหมาะสมและสอดคล้องกับความสนใจของผู้ฟัง
ผู้พูด
บุคคลที่จะทำให้การพูดประสบความสำเร็จ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ไปยังผู้ฟังได้ตรงตามเป้าหมาย
เครื่องมือในการสื่อความหมาย
สื่อหรือสิ่งที่ช่วยถ่ายทอดความรู้ความคิดของผู้พูดไปยังผู้ฟัง
จุดมุ่งหมายของการพูด
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
เพื่อความบันเทิง
ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ
การวางตัว
ต้องวางตัวให้เหมาะสมกับกาละเทศะ มีกิริยาวาจาสำรวม สุภาพ
น้ำเสียง
ต้องใช้น้ำเสียงในการนำเสนอให้น่าฟัง
การแต่งกาย
ต้องแต่งกายให้เรียบร้อย สะอาด มีรสนิยม และเหมาะสมกับกาลเทศะ
การมอง
การมองเป็นการบ่งบอกท่าทีและทัศนคติทางบวกหรือลบของผู้นำเสนอ
อารมณ์
ในการนำเสนอผู้นำเสนอต้องเป็นผู้มีอารมณ์ดี แจ่มใส เบิกบาน ไม่ขุ่นมัว
ไหวพริบ
ผู้นำเสนอต้องมีไหวพริบที่สามารถจับประเด็นคำถามได้ ตอบคำถามที่ซับซ้อนวกวนได้ และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและหาทางออกได้อย่างราบรื่น
สื่อในการนำเสนอ
1) พลิปชาร์ต(flip chart) ซึ่งเป็นการเขียนแผนภูมิข้อความ รูปภาพหรืออื่นๆ ลงบนกระดาษขนาดใหญ่
2) วีดีทัศน์/ภาพยนตร์(vidios/movies) รวมถึงสื่ออื่นๆ เช่น VCD DVD เป็นการนำเสนอในลักษณะที่เป็นภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงประกอบ
3) แผ่นใส (Transparencies) คือการใช้แผ่นพลาสติกที่มีความใส เขียนทับด้วยปากกาหมึก แล้วฉายบนจอ
4) Microsoft Office PowerPoint เป็นโปรแกรมการนำเสนอของบริษัทไมโครซอฟท์
นางสาวลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต 60204248 สาขาชีววิทยา วิทยาลัยการศึกษา