Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Orthopedic
การวินิจฉัย Burst fx L3,L4
การผ่าตัด Laminectomy and PDS T12…
Orthopedic
การวินิจฉัย Burst fx L3,L4
การผ่าตัด Laminectomy and PDS T12-L4
(การผ่าตัดรักษากระดูกสันหลังที่กดทับเส้นประสาทโดยการยึดตรึงด้วยเหล็ก)
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 32 ปี อาชีพ รับจ้างทั่วไป น้ำหนัก 74 กิโลกรัม ส่วนสูง 158 เซนติเมตร T = 37.4 องศาเซลเซียส P=90 ครั้ง/นาที R= 20 ครั้ง/นาที BP = 108/56 มิลลิเมตรปรอท
อาการสำคัญ : ปวดหลัง + ชาหลัง เวลา 8.00 น.
อาการปัจจุบัน : วันที่ 13 เวลา 8.00 น. ตกต้นไม้สูง 2 เซนติเมตร แล้วตกลงมาในท่านั่งยองๆ ใช้ฝ่าเท้า 2 ข้างลงพื้น ไม่มีรอยกระแทก ไม่หมดสติ ตื่นตัวดี ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ปวดสะโพกด้านหลังบริเวณ L5 + เจ็บส้นเท้าทั้ง 2 ข้าง
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : เคยเป็น Thyroid เมื่อ 5 ปีที่แล้ว รักษาอาการหายขาด
-
สรุปข้อมูลที่เป็นปัญหา
-
แบบแผนที่ 4:ผู้ป่วยบกพร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้บางส่วนน้อยลง เป็นผู้ป่วยติดเตียง
-
พยาธิสภาพ
การบาดเจ็บระบบประสาทไขสันหลังและกระดูกสันหลัง
เมื่อเกิดกระดูกหัก จะมีเลือดออกจากบริเวณที่หักจากตัวกระดูก อาจพบเลือดคลั่งบริเวณรอบๆเนื้อเยื่อ การหักของกระดูกมีได้หลายแบบ ชนิดที่ไม่มีแผลเรียกว่า closed ส่วนหักของชนิดที่กระดูกแทงทะลุผิวหนังออกมาภายนอกเรียกว่า open กระดูกหักตามแนวยาวเรียกว่า longitudinal fracture ภายหลังการหักของกระดูกบางรายอาจมีกระดูกหักเสียรูป หรือทำให้เสียหน้าที่เพราะเส้นประสาท กล้ามเนื้อ ligament และ tendon ต่อมาเมื่อมีการเคลื่อนไหวบริเวณรอบๆกระดูกที่หัก
-
อาการและอาการแสดง
อาการที่หลัง: ปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้าซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด
อาการที่ขา: อาการแสดงที่ขามีได้ 3 แบบ คือ อาการปวด ชา หรือการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการปวดหรือชาขาที่เกิดจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีลักษณะคือ มีอาการตามแนวที่เส้นประสาทวิ่งไป สามารถปวดได้ตั้งแต่บริเวณเอว ต้นขา น่อง ไปจนถึงบริเวณเท้าและนิ้วเท้าได้ การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อก็มีลักษณะคล้ายอาการปวดและชา คือจะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อมัดที่เลี้ยงด้วยเส้นประสาทเส้นที่ถูกกดทับนั้น
การรักษา
การผ่าตัด เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้กระดูกสันหลังที่หักหรือแตกไปทับเส้นประสาทสันหลังซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดหลังบาดเจ็บในกรณีที่ไขสันหลังไม่ถูกทำลายโดยสิ้นเชิง
1.การจัดให้กระดูกอยู่นิ่ง : เช่น Jewett brace คือ อุปกรณ์ช่วยพยุงหลัง ป้องกันและควบคุมความโค้งงอของกระดูกสันหลังมาด้านหน้า
2.การผ่าตัด : เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้กระดูกสันหลังที่หักหรือแตกไปทับเส้นประสาทซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดหลังในกรณีที่ไขสันหลังไม่ถูกทำลายโดยสิ้นเชิง วิธีการตัดขึ้นกับปัญหาของผู้ป่วยและดุลพินิจของแพทย์
- การรักษาด้วยยา : การให้ high dose methylprednisolone ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง จากแรงกระแทก ยานี้จะช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์ไขสันหลังถูกทำลาย ลดการอักเสบและยับยั้งอนุมูลอิสระ ทำให้ไขสันหลังที่บาดเจ็บฟื้นตัวได้ แต่ไม่สามารถ ลดอัตราการตายหรือทำให้ระบบประสาทกลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ได้
กายอุปกรณ์ก่อนผ่าตัด
-gewett brace อุปกรณ์ช่วยพยุงหลัง ป้องกันและควบคุมความโค้งงอของกระดูกสันหลังมาด้านหน้า
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ข้อติดกล้ามเนื้อลีบเนื่องจากการจำกัดการเคลื่อนไหว
ข้อมูลสนับสนุน
S : -
O : ผู้ป่วยนอนติดเตียงเนื่องจากมีแผลผ่าตัดกระดูกสันหลัง
วัตถุประสงค์
-เพื่อไม่ให้เกิดแผลกดทับ
-เพื่อไม่ให้เกิดภาวะข้อติดกล้ามเนื้อลีบ
เกณฑ์การประเมิน
-ไม่เกิดแผลกดทับ
-ไม่เกิดการติดของข้อกล้ามเนื้อลีบ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพร่างกายของผู้ป่วย เพื่อดูแลความผิดปกติของร่างกาย
2.แนะนำให้ได้รับสารอาหารที่มีกากใยเพื่อการขับถ่ายได้ดี
3.การพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม. หรือสอนให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย Active exercise เช่น การกระดกข้อเท้าขึ้นลงเพื่อป้องกันข้อติดแข็ง
-
2.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบนปวด pain score 7
O : ผู้ป่วยนอนติดเตียงมีแผลผ่าตัดที่กระดูกสันหลัง L3
-
-