Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การรับผู้ป่วยใหม่และการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ชนิดของการรับผู้ป่วยใหม่
ผู้ป่วยใน (Inpatient)
แบบฉุกเฉิน (Emergency admission)
นอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้วางแผนไว้
ผู้ป่วยในหรือกรณีไม่เร่งด่วน
(Planned or Non-urgent)
จัดตารางนอนผู้ป่วยไว้ล่วงหน้า
โดยตรง (Direct admission)
นอนพักรักษาในโรงพยาบาลแบบไม่ได้ วางแผนไว้ ไม่ได้ตรวจที่แผนกฉุกเฉิน
ผู้ป่วยนอก (Outpatient)
กลุ่มที่มาตรวจเป็นครั้งๆ ตรวจเสร็จแล้วแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้
หลักการส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล
ความแปลกใหม่ต่อสถานที่ สิ่งแวดล้อม บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ต่างๆ
แนะนาถึงข้อปฏิบัติตัวต่างๆ ที่ผู้ป่วยต้องการทราบ
ความกังวลต่อความเจ็บป่วย
พยาบาลช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยได้โดยบอกให้ ผู้ป่วยทราบถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
ประสบการณ์ในอดีต
พยาบาลควรพูดคุยกับผู้ป่วยโดยการซักถามถึงประสบการณ์ในอดีต
การคำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
พยาบาลจะต้องให้เกียรติผู้ป่วยตามความเหมาะสม
ความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ เป็นของผู้ป่วย
การวางแผนให้การพยาบาล
อาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการซักถามต่างๆ
วัตถุประสงค์และขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ผู้ป่วยมีเครื่องใช้ที่จำเป็นในการรักษาพยาบาลเหมาะสม ครบถ้วน
ผู้ป่วยได้รับการประเมินปัญหาและความต้องการทางร่างกาย
และจิตสังคมได้ถูกต้อง
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวล
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและสุขสบายเพิ่มขึ้น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
การเตรียมอุปกรณ์
เตรียมเตียงหรือห้องพักผู้ป่วยให้พร้อมเพื่อต้อนรับการพักรักษาตัวของผู้ป่วย
เอกสารรายงานการรับผู้ป่วยใหม่หรือแบบบันทึกต่างๆ
ขั้นตอนการรับผู้ป่วยใหม่
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยใหม่
สร้างสัมพันธภาพ
ตรวจสอบชื่อ นามสกุลของผู้ป่วย
ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง
นำผู้ป่วยไปที่เตียง
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
อธิบายกิจกรรมการรักษาพยาบาลที่จะให้ผู้ป่วยและให้คำแนะนำ
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิตามกฎหมายเซ็นอนุญาตหรือยินยอม
เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย
ให้ความช่วยเหลือหรือให้คำแนะนาในการอาบน้ำแรกรับ
เบิกอาหารให้ผู้ป่วยที่เหมาะสม
นาป้ายข้อมือติดที่ข้อมือผู้ป่วย ติดป้ายหน้าเตียง
และป้ายแจ้งข้อที่ควรปฏิบัติ กับผู้ป่วย
แจ้งแพทย์เจ้าของผู้ป่วย
ลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่
การรับแผนการรักษา
สาเหตุและอุปกรณ์การจำหน่ายผู้ป่วย
ประเภทการจำหน่ายผู้ป่วย
มีอาการทุเลาลงจากภาวะที่อันตราย
ไม่สมัครอยู่พยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ผู้ป่วยหนีกลับ
ผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ส่งต่อให้ไปรับการดูแลรักษายังสถานบริการสุขภาพอื่น
การจำหน่ายผู้ป่วย
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
ผู้ถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขนบธรรมเนียม และความเชื่อทางศาสนา
ผู้ถึงแก่กรรมมีร่างกายสะอาด อยู่ในสภาพที่ดีที่สุด อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่สงบเรียบร้อย
ปฏิบัติที่ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย
อุปกรณ์ในการจำหน่ายผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยทั้งหมด
สมุดจำหน่ายผู้ป่วย
เสื้อผ้าผู้ป่วย
บัตรประจำตัวของโรงพยาบาล
ใบนัด
ใบสั่งยา
ถึงแก่กรรมให้เตรียมเครื่องใช้ในการอาบน้า สาลี ก๊อซ บัตรติดข้อมือศพด้วย
ขั้นตอนจำหน่ายผู้ป่วย
แพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน
ผู้ป่วยเมื่อถึงแก่กรรม
บทบาทพยาบาลในการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วยตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D
D = Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง
M = Medication ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่องที่บ้าน
E = Environment & Economic กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล เห็นความสาคัญ ของการใช้สถานบริการสุขภาพในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
T = Treatment แนะนาผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ให้เข้าใจเป้าหมายการรักษา
H = Health ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อจากัดในการทากิจกรรมให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ กระตุ้นให้ผู้ป่วย/ญาติ
O = Outpatient referral ชี้แจงให้ผู้ป่วย/ ครอบครัว/ ผู้ดูแล ตระหนักและเข้าใจถึง ความสำคัญของการมาตรวจตามนัดและอาการผิดปกติที่ต้องมาก่อนนัด
D = Diet ให้ความรู้เรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ข้อบ่งชี้และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม
Algor mortis อุณหภูมิของร่างกายลดลง 1◦C
Livor mortis เมื่อการไหลเวียนเลือดหยุด
Rigor mortis คือ การแข็งทื่อของร่างกายหลังเสียชีวิต ประมาณ 2-4 ชั่วโมง
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยถึงแก่กรรม ตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
การพยาบาลภายหลังถึงแก่กรรม
แต่งศพ
หลังผู้ป่วยถึงแก่กรรมตามประเพณี และศาสนาของผู้ป่วย
ศาสนาอิสลาม
ใช้น้ำผสมการบูรหรือใบพุทราอาบน้าให้ศพ และใช้ผ้ากะพัน (ผ้าห่อศพ) แทนการสวมเสื้อผ้า
คนจีน
ใช้น้าผสมธูป ยอดทับทิมและใบเซียงเช่า เช็ดตัวศพเพื่อให้วิญญาณ ขึ้นสู่สวรรค์ และสวมเสื้อผ้าสวยงามพร้อมทั้งหมวกและรองเท้าให้กับผู้ตาย
หลักปฏิบัติทางกฎหมายและระเบียบของโรงพยาบาล
นำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชน ยื่นให้กับเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย
นำใบรายงานของแพทย์ไปแจ้งเทศบาล ขอใบมรณะบัตร
นำใบมรณะบัตรไปแจ้งที่วัดเพื่อเผาศพ
ขอเคลื่อนย้ายศพออกจากเขตหรือข้ามจังหวัด ให้นำใบมรณะบัตรไป
แจ้งเทศบาลหรือที่ว่าการเขต
ผู้ตายไม่สามารถทานิติกรรมใดๆ ได้อีกต่อไป