Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ Fever, Cough, asthma…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ Fever, Cough, asthma syndrome
ไข้ (Fever)
-
สาเหตุ
- การบาดเจ็บของประสาทส่วนกลาง ที่กระทบต่อ Set point โดยตรง เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดสมองแตก
- การติดเชื้อโรคต่างๆ ประมาณ 91% มักมีไข้ทั้งหมด
- การได้รับบาดเจ็บ ของร่างกายปรือหลังผ่าตัด 1-2 วันแรก
- โรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งต่อมน้ าหลือง
-
- โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ
กลไกการเกิดไข้ของร่างกาย
กลไกมาจากแบคทีเรียที่ผลิตท็อกซิน หรือเนื้อเยื่อที่ถูกท าลายปล่อยสารพโรเจน (Pyrogen) ออกมา สารตัวนี้จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวปล่อยสารก่อไข้ คือ เอนโดจีนัส ไพโรเจน (Endogenous pyrogen) ซึ่งจะไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ คือ ไฮโปทาลามัส ให้ทำงานมากขึ้น ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
ระดับของไข้
- ไข้ต ่า (Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 C
- ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 C
- ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 C
- ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 C. ขึ้นไป
กลุ่มอาการ
ไข้ ไอ
-
PE: คอแดง(จากเชื้อไวรัส) ถ้าเกิดจากเชื้อแบททีเรียคอแดงมาก ทอลซิลโตมาก ในเด็กคลำต่อมน้ำเหลืองได้บริเวณคอ
-
-
กลุ่มอาการ
-
ไข้ ไอ พบในเด็ก 1-10 ปี
มีประวัติสัมผัสโรค ครั่นเนื้อครั่นตัว เจ็บคอ เสียงแหบ หายใจลำบาก หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนไอกรน/ฉีดไม่ครบ PE: หน้าอกบุ๋มขณะหายใจ ฝ้าขาวปนเทาที่ผนังคอ อาจพบฟ้าขาวที่ จมูก บริเวณ Septum
-
-
-
-
-
กลุ่มอาการ
ไข้ ไอ เจ็บคอ ไข้ต่ำ
-
-
-
Tonsilitis
PE: Tonsil enlarge, คอแดง
-
Croup
อาการ : หวดั ,ไอ,ไข้ต่ำๆ (นํามาก่อน 1-3วัน ) หลังจากนั้นจะไอเสียงก้อง ( bacrking cough ) ร้องเสียงแหบ
-
Ashma
อาการ : อาการไอเป6นๆหายๆ โดยเฉพาะไอเวลากลางคืนและตอนรุ่ง เช้า หายใจมีเสียงหวดี หายใจลําบาก แน่นหน้าอก
-
-
-