Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย - Coggle Diagram
คำภาษาต่างประเทศ
ที่ใช้ในภาษาไทย
ลักษณะของคำไทยแท้
แบ่งออกเป็น 6 ชนิด
2.คำไทยแท้เป็นคำที่มีตัวสะกดเดียว ไม่มีตัวตามและสะกดตรงตามมาตรา
1.คำไทยแท้ส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียวส่วนคำไทยแท้ที่มีหลายพยางค์ เช่น มะพร้าว
3.คำไทยแท้จะไม่ใช้พยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ
4.คำไทยจะใช้ “ใ” (ไม้ม้วน) มี 20 คำ
5.คำไทยจะมีรูปวรรณยุกต์กำกับ ทำให้ออกเสียงต่างกัน
มีความหมายต่างกัน
6.คำไทยไม่นิยมใช้ตัวการันต์และคำควบกล้ำ เช่น เด็ก วิ่ง เล่น ใน สวน
ลักษณะคำไทยที่มาจากภาษาเขมร
1.เป็นคำ ๒ พยางค์ พยางค์ต้นจะเป็น บัง บัณ บัญ บัน บำ บรร
2.คำที่มีเสียงควบกล้ำและอักษรนำ
3.คำภาษาเขมรมักใช้ตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด
4.คำ ๒ พยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า บรร บัง บัน กำ คำ ชำ ดำ ตำ ทำ สำ มักเป็นภาษาเขมร
6.คำเขมรที่เป็นคำโดด มีใช้ในภาษาไทยจนคิดว่าเป็นคำไทย
5.คำเขมรที่ใช้เป็นราชาศัพท์ในภาษาไทยมีมาก เช่น สรง เสวย โปรด บรรทม เสด็จ ฯลฯ
ลักษณะคำที่มาจากภาษาบาลี
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้ คือ พยัญชนะแถวที่ 1, 3, 5
คำบาลี เมื่อมีตัวสะกดต้องมีตัวตาม
ลักษณะคำไทยที่มาจากภาษาจีน
มี 4 ชนิด
2.เป็นคำที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ที่เรารับมาจากชาวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย
1.นำมาเป็นชื่ออาหารการกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย เป็นต้น
4.เป็นคำที่ใช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นส่วนมาก เช่น ก๋วยจั๊บ กุ๊ย เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุ๋น เป็นต้น
3.เป็นคำที่เกี่ยวกับการค้าและการจัดระบบทางการค้า เช่น เจ๋ง บ๋วย หุ้น ห้าง โสหุ้ย เป็นต้น