Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 การบริหารยาเฉพาะที่ 💊🩺🩹📌, 💕✨🩺💊📌🌈นางสาวพลินี จำปา…
4.1 การบริหารยาเฉพาะที่
💊🩺🩹📌
1. วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.1 เพื่อการรักษา เป็นการให้ยาเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค หรือช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และ
หายจากอการหรือโรคที่เป็นอยู่
4) ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป อาจได้รับยาดิจิทำลิส
3) ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก ให้ได้รับ
เฟอรัส ซัลเฟต
2) รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
1) รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทำอาการปวด ให้ของเพื่อบรรเทา
อาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
1.3 เพื่อกำรตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ กระเพาะอาหารและลำไส้หรือกำรฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดำ (Intravenous pyelography : IVP) เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจำกไตแต่ละข้าง
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อ
บำรุงร่างกายให้แข็งแรง
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ยาที่ผู้ป่วยได้รับแต่ละคน จะออกฤทธิ์ไม่เท่ากัน แม้จะได้ขนาดที่เท่ากัน มีปัจจัยหลายประการที่
พยาบาลต้องคำนึงถึง ดังนี้
2.4 ภาวะจิตใจ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
มาก
2.6 ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
2.3 กรรมพันธุ์บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่าย ซึ่งอาจเกิดจาก
พันธุกรรม
2.8 สิ่งแวดล้อม ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้พักผ่อน
2.2. เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมี
ปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
2.7 เวลาที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทำนทางปาก
2.1 อายุและน้ำหนักตัวเช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกแต่ละรายจะได้รับยาเคมีบำบัดใน
ปริมาณที่ต่างกันโดยแพทย์ผู้รักษาใช้หลักการคำนวณปริมาณยาจากน้ำหนักตัวของผู้ป่วย
2.5 ภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์
ยาต่างจากคนปกติ
3. ระบบการตวงวัดยา
ต้องทราบระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารีถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน ที่พบบ่อย
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.2 ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
1 ช้อนหวาน = 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา = 180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา * = 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ * = 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
หยด * 1 = มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว = 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
💕✨🩺💊📌🌈นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378💙 🌈💉💤🏥🙏🏻