Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อรูมาตอยด์ - Coggle Diagram
โรคข้อรูมาตอยด์
การรักษา
- ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressive drugs) ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยที่โรครุนเเรงเเละก้าวหน้าไม่ตอบสนองต่อยาต่อต้านการอักเสบ เช่น cyclo-phosphamide , azathioprine ,เป็นต้น
-
2.การรักษาให้โรคสงบด้วย Gold salts, D-Penicillamine โดยเฉพาะในรายที่โรครุนเเรงบ่อยๆ โดยหวังควบคุมให้โรคสงบลง
-
1.การรักษาด้วยยาต้านการอักเสบ เช่น Aspirin ยาต่อต้านการอักเสบไม่ใช่สเตียรอยด์ (์NSAID) Ibuprofen, Naproxen, Indomethacin และ Diclofenac กลูโคติคอยชนิดรับประทานเเละฉีด
6.การผ่าต่อเเก้ไขความพิการของข้อ ในรายที่เป็นมาก มีการกดประสาททำให้เจ็บปวดรุนเเรง เพื่อลดอาการปวดเเละป้องกันไม่ให้ลุกลาม
การผ่าตัดเยื่อหุ้มข้อ (synovectomy)
การเย็บซ่อมเอ็นรอบข้อต่อ (Tendon repair)
การผ่าตัดรวมข้อ (Joint Fusion)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม (Joint Replacement)
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยขยับข้อต่างๆ อย่างช้าๆ ท่าละ 10 ครั้งเเละทำซ้ำใหม่ทุก 1- 2ชั่วโมง เพื่อช่วยลดอาการวดเจ็บทรมานในระยะยาวได้ดีมาก
-
-
-
การประคบน้ำอุ่น การเเช่หรืออาบน้ำอุ่น เพื่อช่วยลดความเจ็บปวดเเละึวามฝืดของข้อ โดยใช้เวลาประคบประมาณ 15 นาที จากนั้นให้ผู้ป่วยฝืนขยับข้อต่างๆ ที่ปวดหรือบวมอย่างช้าๆ
ควรหลีกเลี่ยงอาาหารที่มีผลกระตุ้นให้อาการกำเริบ คือ ผลิตภัณฑ์นมทุกชนิด ทั้งจากนมวัวเเละนมเเพะ ข้าวโพด เนื้อสัตว์ทุกชนิด ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าวราย ไข่ ผลไม้ตระกูลส้ม มั่นฝรั่ง มะเขือเทศ ถั่ว กาเเฟ
อาหารบางชนิดที่อาจจะกระตุ้นให้อาการกำเริบได้ในบางคน เช่น เครื่องเดิมเเอลกอฮอล์ กล้วย ช็อกโกเเล็ตมอลต์ ไนเตรต หอมใหญ่ ถั่วเหลือง น้ำตาลอ้อย เเละเครื่องเทศบางชนิด
ภาวะเเทรกซ้อน
-
ตาแห้งและปากแห้ง ผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์มักจะพบว่าเกิดโรคปากแห้งตาแห้ง หรืออาจเป็นโรคโจเกรน (Sjogren's Syndrome)
การติดเชื้อ โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์และยาที่ใช้รักษา สามารถทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงและนำไปสู่การติดเชื้อได้ในที่สุด
-
-
โรคปอด ผู้ป่วยโรครูมาตอยด์มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อปอดและเกิดพังผืดที่เนื้อเยื่อปอด
-
การปฏิบัติตัว
ออกกำลังกายข้อเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของข้อและร่างกาย โดยควรทำภายใต้คำแนะนำของแพทย์หรือนักกายภาพบำบัดเท่านั้น
-
-
-
เมื่อมีอาการปวด นอกจากรับประทานยาบรรเทาปวดแล้ว อาจใช้วิธีประคบเย็นวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 20 นาทีร่วมด้วย
อาการเเละอาการเเสดง
อาการนำ
-
-
-
-
-
ตอนเช้าตื่นนอนขึ้นก็จะรู้สึกปวดร่างกาย ฝืดไปหมดทุกข้อ มีอาการเหนื่อยอ่อนและเมื่อยล้า รวมไปถึงอาจพบว่ามีน้ำหนักตัวลดลงและมีไข้อ่อน ๆ
-
-
-
40% จะพบว่ามีอาการที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับข้อต่อและอาจส่งผลต่ออวัยวะส่วนอื่น ๆ เช่น ผิวหนัง ดวงตา ปอด หัวใจ ไต ต่อมน้ำลาย เส้นประสาท ไขกระดูก หลอดเลือด
-
การตรวจข้อ
ข้อบวม กดเจ็บ ร้อนผิวหนังรอบๆข้อ กล้ามเนื้อรอบข้อลีบเเละอ่อนเเรง ยืดข้อลำบาก ดึงรั้ง เพราะมีผังผืดเกาะ
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัตรการ
-
-
-
นิวโตรฟิล 10,000 - 50,000 มม.
-
การวินิจฉัยโรค
The American Rhenmatism Association ปี 1998 ผู้ป่วยจะต้องมีอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัย 4 ข้อจากทั้งหมด 7 ข้อ โดยข้อที่ 1- 4 ต้องเป็นมานานอย่างน้อย 6 สัปดาห์
-
-
7.การเปลี่ยนเเปลงของกระดูกในบริเวณข้อมือ จากภาพรังสีการตรวจหาการสึกกร่อนของกระดูกที่อยู่ในข้อ (marginal bone erosion) สามารถพบได้ร้อยละ 15 - 30 ในระยะ 1 ปีเเรกของโรค ในระยะเเรกมักมีอาการของข้อนิ้วเท้าเเละข้อเท้าด้วยควรส่งตรวจทั้งข้อมือเเละเท้าในผู้ป่วยระยะเเรก
-
-
2.มีอาการข้ออักเสบจากการตรวจตรวจร่างกาย ตั้งเเต่ 3 ข้อขึ้นไป คือ MCP เเละ MTP ข้อกลางของนิ้วมือเเละเท้า
-
-
-
สาเหตุของโรครูมาตอยด์
1.ระบบภูมิคุ้มกันทำลายเยื่อหุ้มข้อ (Synovium) เป็นผลทำให้เกิดการอักเสบเเละบวม
2.สัมพันธ์กับการถ่ายถอดทางพันธุกรรมร่วมกับการกระตุ้นจากการติดเชื้อประเภทต่างๆ เชื้อไวรัส เเละเเบคทีเรีย
3.ท้ายที่สุดเเล้วอาจทำลายการดูกของข้อต่อรวมไปถึงเส้นเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อเเละกระดูก จากนั้นข้อต่อจะค่อยๆผิดรูปเเละบิดเบี้ยว
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรัง เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการอักเสบเเละการทำลายข้อโดยไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน ซึ่งส่งผลให้ไซโตไคน์บุกรุกไปยัง ข้อต่อและทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูก กระดูกอ่อน
เส้นเอ็นและเอ็น ทำให้เยื่อข้อมีการหนา และเเทรกทำลายกระดูกอ่อนของข้อ เกิดปวด บวม แดง และร้อนที่ข้อมีการสะสมของเม็ดเลือดขาวในข้อ เช่น CD4+ T cells, macrophages และ B cells และการสะสม ของ fibrin เมื่อโรคเป็นมากขึ้นจะมีการหนาตัวของเยื่อหุ้มข้อมีการทำลายกระดูกอ่อนที่หุ้มปลายข้อ กล้ามเนื้อและเอ็นรอบข้อจะอ่อนแรงทำให้ปวดข้อมากขึ้น
-