Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
บทที่ 10การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ ยิ่งถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้นย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้มากขึ้น
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ตัวอย่างหญิงไทยรายหนึ่ง อายุ 35ปี ให้ประวัติว่ามีอาการท้องผูกต้องใช้ยาระบายก่อนนอนเป็นประจ าทุกคืนและมีพฤติกรรมไม่ชอบรับประทานผักและผลไม้ ดื่มน้ าน้อยวันละไม่ถึง 1,000ml.
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
S:“ทานยาระบายก่อนนอนเป็นประจ าทุกคืนไม่ชอบอาหารประเภทผัก และผลไม้”O: จากการตรวจร่างกายพบAbdomen:Distension, Tympanic sound, Decrease bowel sound 1-2 time/min
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)# ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจ า
3.การวางแผนการพยาบาล(Planning)วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเกณฑ์การประเมินผล1.ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย2.มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ และดื่มน้ าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
การวางแผนวางแผนให้ความรู้และเน้นความส าคัญของการดูแลสุขภาพเรื่องการโรคของระบบทางเดินอาหารและล าไส้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
1.แนะน าให้ความรู้และเน้นความส าคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใยได้แก่ ผักต่าง ๆ ผลไม้ประเภท มะละกอ กล้วยน้ าว้า เป็นต้น2.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและล าไส้3. อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้ าให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายควรดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10แก้ว
4.แนะน าให้ออกก าลังกายตามความเหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้ล าไส้ได้เคลื่อนไหวช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ5. ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรไทยช่วยในการขับถ่ายอุจจาระทดแทนการใช้ยาระบายโดยน ามาปรุงเป็นอาหาร เช่นมะขาม มะระไทย เป็นต้น 6.ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน7.ท าจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ลดความเครียดหรือวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
1.มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย2.เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุ ตั้งแต่24-30เดือนขึ้นไป ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลายๆ ครั้ง เมื่ออายุมากขึ้นเซลล์กล้ามเนื้อจะลดขนาดลง
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)อาหารจ าพวกพืชผักผลไม้ ที่มีกากใยมาก เช่นคะน้า กระเฉด
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)น้ าจะเป็นตัวส าคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติ
อารมณ์ (Emotion)เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลงเช่น หงุดหงิด หรือวิตกกังวลเป็นต้น
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจ าวัน
ความเหมาะสม(Opportunity)สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว
ยา(Medication)อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดินอาหารอาจท าให้ล าไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
การตั้งครรภ์(Pregnancy)เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย
อาการปวด (Pain)โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรง (Rectal surgery) การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery andAnesthesia)การดมยาสลบชนิดทั่วไป การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการท างานของล าไส้ชั่วคราว ซึ่
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน
ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ
ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ
ลักษณะเป็นน้ำไม่มีเนื้ออุจจาระปน
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก
ภาวะท้องผูกหรืออาการท้องผูก หมายถึง การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาล าบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระและมีอาการอยากถ่ายที่เรียกว่า “การถ่ายอุจจาระไม่สุด”
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูกเมื่ออาหารที่รับประทานเข้าไปถูกย่อยล าไส้เล็กจะมีหน้าที่ในการดูดซึมสารอาหารเข้าสู่ร่างกาย ลำไส้ใหญ่มีหน้าที่1)ช่วยย่อยอาหารเพียงเล็กน้อย 2)ดูดซึมน้ำและอิเล็คโตรไลท์จากอาหารที่ถูกย่อยแล้ว เช่น โซเดียม และเกลือแร่อื่นๆ
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)เป็นอาการที่สืบเนื่องจากท้องผูก เป็นการสะสมของอุจจาระที่แห้งแข็งในล าไส้ตรงและน้ำถูกดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกายเรื่อย ๆ อุจจาระยิ่งแห้งแข็งมาก
3ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือAbdominal distention)เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในล าไส้ท าให้เกิดอาการต่างๆ เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)การกลั้นอุจจาระไม่ได้ท าให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางร่างกาย
ภาวะท้องเสีย(Diarrhea)ภาวะท้องเสีย หรืออุจจาระร่วง หมายถึง การเพิ่มจ านวนครั้งของการถ่ายอุจจาระ และการที่อุจจาระเป็นน้ าเหลว หรือมีมูกปน โดยถือว่าถ่ายเป็นน้ าเหลว 3 ครั้งในเวลา 12ชั่วโมง
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)การผ่าตัดเอาล าไส้มาเปิดออกทางหน้าท้องเพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระมักท าในผู้ปุวยที่มีพยาธิสภาพที่ล าไส้เช่นมะเร็งล าไส้ใหญ่และทวารหนัก
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์1) ลดปัญหาอาการท้องผูก2)เตรียมตรวจทางรังสี3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ4) เตรียมคลอด5) เพื่อการรักษาเช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ปุวย
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enemaเป็นการสวนน้ าหรือน้ ายาเข้าไปในล าไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของล าไส้
Retention enemaการสวนเก็บเป็นการสวนน้ ายาเข้าไปเก็บไว้ในล าไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
วิธีปฏิบัติ
1) การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วนสะดวกในการปฏิบัติ2) น าเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ปุวยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน
) ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ปุวย ปูองกันไม่ให้ที่นอนเปรอะเปื้อนและเปียกน้ า4) จัดท่านอนให้ถูกต้องคือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า
5) คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย ลดอาการเกร็งของผู้ปุวยจากความเขินอายและท าให้เกิดความมั่นใจ6) ล้างมือ สวมถุงมือและต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น ปูองกันหัวสวนหลุดเข้าช่องทวารหนักขณะสวนและท ารั่วเปียกเลอะเทอะ
7) ปิด Clampหัวสวนไว้เทน้ ายาใส่หม้อสวนแขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ปุวย 1ฟุต (12 นิ้ว)เหนือจากระดับที่นอนเพื่อควบคุมแรงดันน้ า ถ้าแขวนสูงกว่า1 ฟุต จะเพิ่มแรงดันในล าไส้อย่างรวดเร็ว
8) เปิด Clampเพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวนปิด Clamp หัวสวนหล่อลื่นหัวสวนด้วย KY jellyไล่อากาศเพื่อทดสอบว่าหัวสวนไม่อุดตัน
9) บอกให้ผู้ปุวยทราบว่าจะท าการสวนอุจจาระโดยการแตะหัวสวนที่ทวารหนักอย่างนุ่มนวลเบาๆ
10) สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ3นิ้ว แล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของล าไส้
11) จับหัวสวนให้แน่กระชับมือเปิด Clamp ให้น้ าไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ5-10 นาทีระหว่างท าการสวนให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจยาวๆสังเกตระดับน้ าในหม้อสวนปล่อยน้ าไปเรื่อยๆ
12) ค่อยๆ ดึงสายสวนออกเบาๆปลดหัวสวนออกห่อด้วยกระดาษช าระวางใน ชามรูปไตบอกให้ผู้ปุวยนอนท่าเดิมพยายามเก็บน้ าไว้ในล าไส้ 5-10 นาที
13) สอดBed panกั้นม่านให้มิดชิด หลังถ่ายเสร็จใช้ Bed padปิดคลุม Bed panหรือในรายที่เดินได้ให้ผู้ปุวยลุกเดินไปห้องน้ าเอง14) เก็บเครื่องใช้ท าความสะอาดให้เรียบร้อยถอดถุงมือล้างมือให้สะอาด15) ลงบันทึกทางการพยาบาล
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
1)อุณหภูมิของสารน้ าอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F (40.5 ̊C)2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย2.1เด็กเล็กใช้ในปริมาณ150–250 ml.2.2เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10ปีใช้ในปริมาณ250–500 ml.2.3เด็กอายุ 10–14ปีใช้ในปริมาณ500–750 ml.2.4ผู้ใหญ่ใช้ในปริมาณ750–1,000 ml.
3) ท่านอนของผู้ปุวยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ า (Sim’s position)ให้เข่าขวา งอขึ้นมากๆ
4) แรงดันของสารน้ าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอนในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
5)การปล่อยน้ าเปิดClamp ให้น้ าไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน10-15 นาทีเพื่อให้ผู้ปุวยเก็บน้ าได้หมด
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในล าไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม
7)การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่นKY jellyเป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1นิ้วในเด็ก
8)ทิศทางการสอดหัวสวนให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของล าไส้
9)ระยะเวลาที่สารน้ ากักเก็บอยู่ในล าไส้ใหญ่หลังจากที่ปล่อยสารน้ าเข้าไปในล าไส้ใหญ่จนผู้ปุวยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ปุวยหายใจทางปากยาวๆ เ
10)การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติจากสาเหตุที่ผู้ปุวยเบ่งควรบอกให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจเข้ายาวๆ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
1)การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ(Fecal examination หรือStool examination)2)การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)ตรวจในรายที่สงสัยว่ามีเลือดแฝงในอุจจาระ เช่นผู้ปุวยมะเร็งล าไส้ ผู้ปุวยมีพยาธิปากขอ
3)การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ(Stool culture)เพื่อน าไปเพาะเชื้อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด 2)ใบส่งตรวจ3) ไม้แบน ส าหรับเขี่ยอุจจาระ4) กระดาษช าระ5)หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
1)การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง มีวิธีการปฏิบัติ
(1)อธิบายให้ผู้ปุวยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ระวังการปนเปื้อนปัสสาวะ น้ า และสิ่งปนเปื้อนอื่น (2) ให้ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้งใช้ไม้แบนเขี่ยอุจจาระจ านวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที
(3)ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ(4)ลงบันทึกทางการพยาบาลลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
2)การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อมีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้
1) ให้ผู้ปุวยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันส าลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันส าลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ
(2) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ(3)ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน