Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยารักษาแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ - Coggle Diagram
ยารักษาแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ (peptic ulcer)
จะรวมถึงแผลที่กระเพาะอาหาร (gastric ulcers) แผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenal ulcers) และแผลที่หลอดอาหารหรือเกิดหลอดอาหารอักเสบ (esophagitis) อันมีสาเหตุเกี่ยวข้องกับกรดในกระเพาะอาหารผู้ที่มีการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากผิดปกติ เช่น ผู้ป่วยZollinger-Ellison syndrome (หรือ ZES ซึ่งเกิดเนื่องจากมีเนื้องอกที่สร้างฮอร์โมนแกสตรินมากระตุ้นการหลั่งกรด อาจพบแผลที่ปลายลำไส้เล็กส่วนต้นและที่ลำไส้เล็กส่วนกลางได้เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนแกสตรินที่เพิ่มขึ้น ทำให้กระเพาะอาหารหลั่งกรดไฮโดรคลอริกออกมามากเกินไป ซึ่งมีสาเหตุมาจากเนื้องอกบริเวณตับอ่อนที่เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนแกสตริน ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ จะมีอาการปวดแสบท้อง ขณะท้องว่าง (กรดและเปปซินไปสัมผัสกับบริเวณอักเสบ)หรือหลังอาหาร แน่นท้อง ท้องอืดเฟ้อ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดแสบบริเวณอก หรืออาจถ่ายอุจจาระมีสีดำ (มีเลือดออกจากทางเดินอาหาร)
ปัจจัยที่ทำให้เกิด peptic ulcer
1.ความผิดปกติในการหลั่งกรดและเปปซินในกระเพาะอาหาร
2.การไหลย้อนขึ้นของน้ำดีและน้ำย่อยจากลำไส้เล็ก
3.ความทนทานของชั้นเยื่อเมือกลดลง
4.การมีอาหารค้างอยู่ในกระเพาะอาหารนาน
5.ความเครียดซึ่งจะกระตุ้นการหลั่งกรด
6.เชื้อแบคทีเรียชื่อ Helicobacter pylori
7.พันธุกรรม
8.การสูบบุหรี่
9.ยาบรรเทาการอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs)
10.แอลกอฮอล์และเครื่องดื่มที่มีคาแฟอีน
ยาลดกรด (antacids)
ชนิดที่มีฤทธิ์แรง
sodium
bicarbonate
ละลายน้ำได้ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ออกฤทธิ์เร็ว ทำให้pH เพิ่ม
ได้สูง ถ้า pH ในกระเพาะอาหารสูงเกิน 4.5 จะกระตุ้น pyrolic antrum หลั่ง gastrin เพิ่มขึ้น เป็นผลให้มีการหลั่งกรด มากขึ้น อาการของโรครุนแรงขึ้น
ผลข้างเคียง
1.เกิด ก๊าซ CO 2 อาจทำให้แน่นท้อง ปวดท้องได้ เนื่องจากกระเพาะอาหารยืดตัว 2.ถ้าใช้นานทำให้ร่างกายเกิดสภาวะด่างถ้าร่วมกับรับประทานอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง เช่น นมหรือยาลด
กรดพวก แคลเซี่ยมคาร์บอเนตจะทำให้มีอาการคลื่นไส
เกิด rebound hypersecretion ยาลดกรดที่ทำให้ pH ของกระเพาะเพิ่ม
สูงมาก จะกระตุ้นให้หลั่งฮอร์โมนแกสตริน
สารประกอบแมกนีเซียม
ลดกรดได้เร็วที่สุดในบรรดายาลดกรดชนิดที่ไม่ละลายน้ำ (เกือบสมบูรณ์เท่า NaHCO3) ที่เกิดขึ้นหลังท าปฏิกิริยากับกรดจะถูกดูด
ซึมได้บ้างที่ำไส้ ขึ้นทะเบียนเป็นยาระบาย
ข้อเสีย
ทำปฎิกิริยากับกรดได้ magnesium chloride (MgCl2) สามารถทำให้เกิด osmotic retention ภายในลำไส้ใหญ่ เพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ อาจทำให้ท้องเดิน
2.ร่างกายเป็นด่าง ผ่านรกและขับออกทางน้ำนมได้
3.ผู้ป่วยที่ไตไม่ดีอาจท าให้เกิดภาวะ แมกนีเซี่ยมในเลือดสูง ท
calcium
carbonate
เป็นยาตัวแรกที่น ามาใช้เป็นยาลดกรด ออกฤทธิ์ลดกรดได้เร็วและมี
ประสิทธิภาพดี ปัจจุบันไม่นิยมใช้เป็นยาลดกรด แต่น ามาใช้ป้องกันการขาดแคลเซี่ยม ให้ยาลดกรดขณะมีอาการปวดท้อง ชนิดน้ าคือ 1-2 ช้อนโต๊ะ ส่วนชนิดเม็ดคือ 1-2 เม็ด หลัง
อาหาร 1 ชั่วโมง 3 เวลา และก่อนนอน ทุกครั้งที่มีอาการแสบท้อง ยาชนิดเม็ดให้เคี้ยวละเอียดก่อนกลืน ยาน้ำต้องเขย่าขวด
ก่อนใช้
ชนิดที่มีฤทธิ์อ่อน
สารประกอบอะลูมินัม
เช่น aluminum oxide ออกฤทธิ์ลดกรดช้า ไม่ท าให้ pH ของน้ าย่อยสูงเกิน 5 ยาแสดงฤทธิ์
อยู่ได้นาน หากมีภาวะไตเสื่อมอย่างรุนแรงหรือใช้ยาขนาดสูงติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยสะสมในกระดูก ปอด และเนื้อเยื่อของระบบประสาท อาจทำให้เกิดโรคกับผู้ป่วยโรคไตที่กำลังทำการชำระเลือด (dialysis) เช่น โรคกระดูกน่วม (osteomalacia)
ผลข้างเคียง
ท้องผูก อุจจาระอัดเป็นก้อนแข็ง ลำไส้อุดกั้น
2.ในลำไส้ Al3+ จะจับกับฟอสเฟตเกิดเป็น AlPO4 ไม่ถูกดูดซึมเข้าร่างกาย ทำให้ร่างกายขาดฟอสเฟส