Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ
ไข้
ภาวะไข้ คือการที่อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินปกติ
อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม
อุณหภูมิขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อหรือการออกกำลังกาย
และฮอโมนในร่างกาย
ร่างกายคนปกติจะมีอุณหภูมิ คือ 35.5 – 37.4 C (เมื่อวัดทางปาก)
สาเหตุของการเกิดไข้
การบาดเจ็บของประสาทส่วนกลาง ที่กระทบต่อ Set point โดยตรง เช่น เนื้องอกในสมองเส้นเลือดสมองแตก
การติดเชื้อโรคต่างๆ ประมาณ 91% มักมีไข้ทั้งหมด
การได้รับบาดเจ็บของร่างกายหรือหลังผ่าตัด 1-2 วันแรก
โรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ความผิดปกติของระบบเลือด
โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ
กลไกการเกิดไข้ของร่างกาย กลไกมาจากแบคทีเรียที่ผลิตท็อกซิน หรือเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายปล่อยสาร ไพโรเจน (Pyrogen) ออกมา สารตัวนี้จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวปล่อย สารก่อไข้ คือ เอนโดจีนัส ไพโรเจน (Endogenous pyrogen) ซึ่งจะไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ คือ ไฮโปทาลามัส ให้ทำงานมากขึ้น ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
ระดับของไข้
ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 C
ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 C
ไข้ต่ำ (Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 C
ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 C. ขึ้นไป
อาการหอบ
นอกจากความถี่ของการหายใจต้องสังเกตสิ่งต่อไปนี้ร่วมด้วย
เหงื่อออกมาก ( Sweating )
Conscious change
ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Accessory muscle )
นอนราบไม่ได้ ( Chest discomfort )
สีผิวโดยเฉพาะริมฝีปาก ( Cyanosis )
การซักประวัติ
ประวัติครอบครัว เช่น โรคภูมิแพ้ โรคระบบทางเดินหายใจ
ประวัติการสูบบุหรี่ หรือมีคนใกล้ชิดสูบบุหร
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต โดยเฉพาะประวัติที่เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ โรคปอด โรคหัวใจ
ประวัติการทำงานที่เสี่ยงต่อการเกิด Occupational lung disease
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน( PI )
ประวัติเสี่ยงต่อการเกิด Deep vein thrombosis เช่น immobilization มะเร็ง
อาการสำคัญ ( CC ) : อาการ+ระยะเวลา
ประวัติเสี่ยงต่อการเกิด Atherosclerosis เช่น เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดใน
ครอบครัว
การตรวจร่างกายระบบทางเดินหายใจ
ฟัง : ฟังเสียงหายใจ ฟังเสียงผิดปกติ
เคาะ : เสียงทึบ ( Flatness, Dullness ) เสียงโปร่ง ( Resonance )
ดู : รูปร่างทรวงอก ( Shape ) ขนาดของทรวงอก ( Size ) การเคลื่อนไหวของทรวงอกแต่ละข้าง ( movement)
คลำ : ตำแหน่งของหลอดลม การเคลื่อนไหวของปอด คลำ tactile fremitus ดูการแพร่กระจายของเสียง
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
EKG / Echo
D-dimer
Sputum exam, C/S
Doppler ultrasound of venous system
Brain natriuretic peptide ( BNP ) หรือ N-teminalproBNP( NT-proBNP)
Pulmonary function test
BUN, Cr, E’lyte
CBC
ABG
CT scan of chest
Ventilation-perfusion scan
Chest X-ray
อาการและอาการแสดงปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Sore throat
Abnormal lung sound
อาการหวัด คัดจมูก น้ ามูกไหล
(Cough/Productive cough/ Hemoptysis)
Dyspnea หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
Fever
Chest pain
มีตั้งแต่อาการและอาการแสดงที่ไม่รุนแรง หรือเร่งด่วนจนกระทั่งถึงภาวะที่ฉุกเฉินและรุนแรงถึงชีวิต
Cyanosis
ไข้ ไอ
อาการไอ เป็นปฎิกิริยาหนึ่งที่ร่างกาย ขับสิ่งแปลกปลอมออก มักเกิดร่วมกับโรคหรือภาวะต่าง
สาเหตุ
การคั่งค้างของเสมหะ
อากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด
การติดเชื้อ
การสูดดมสารเคม
ลักษณะของอาการไอ
ไอกรน (Whooping cough) หลังจากไอเป็นชุด จะมีเสียง “วู๊บ” จาก
การหายใจเข้าเร็ว และเต็มที่ พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ
ไอแบบมีเสียงหยาบ (Harsh) พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ จากหลอดลมแห้ง เจ็บ อาจมีเสมหะ ซึ่งมีลักษณะใส หรือขาวข้น ปนหนอง
ไอคล้ายเสี่ยงเห่า (Barkilg cough) เกิดจากกล่องเสียงอักเสบ จะมีอาการไอแบบแห้งๆ เสียงก้อง
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการ ไข้ ไอ หอบ :
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนที่พบบ่อย
Tonsillitis
Laryngitis
ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis )
หูชั้นกลางอักเสบ ( Acute otitis madia : AOM )
Influenza
โรคหวัด ( Common cold )
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
โรคหวัด ( Common cold ) : เกิดจากเชื้อไวรัสโดยเฉพาะ Rhinovirus มักพบในฤดูหนาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ไม่จำเป็น
การรักษาพยาบาล
CPM, น้ำมันยูคาลิปตัส
M. Tussive
Paracetamol
การวินิจฉัยแยกโรค
ไซนัสอักเสบ มักมีไข้ น้ำมูกเหลือง เขียว มีเสมหะไหลลงคอ
ภูมิแพ้มักมีประวัติผื่นภูมิแพ้ คัดจมูก คันตา จาม น้ำมูก ใสๆเป็นๆหายๆ
คออักเสบจากแบคทีเรีย มักมีไข้สูง คอแดงมาก ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
สิ่งแปลกปลอม ( foreign body ) มักมีกลิ่นเหม็นจากรู จมูกข้างเดียวน้ำมูกมีเลือดปน
คำแนะนำ
ให้พักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ
การลดไข้ทำด้วยการเช็ดตัว
น้ำเกลือหยอดจมูก/ล้างจมูก
PE
Pharynx injected มี granular หรือ nodular
แต่ไม่มี exudative patch,Tonsil enlarged แต่ไม่มี exudate
พบน้ำมูกใสและขุ่น, Turbinate บวมแดง
Complication
Bacterial infection:
Tonsillitis/Pharyngitis/Sinusitis/Otitis media/ Bronchitis
Refer: Tachypnea/Fever > 7 วัน
Signs& Symptom
มีไข้ < 38 C มีเสมหะในคอ
อาการไข้และเจ็บคอมักเป็นไม่เกิน 1-3 วัน
ต่อมาด้วยอาการไอ
ส่วนอาการคัดจมูกมีน้ำมูก มักเป็นไม่เกิน 7-10 วัน
เริ่มจากเจ็บหรือระคายคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล
Influenza(ไข้หวัดใหญ่) : เกิดจากเชื้อVirus Influenza
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CBC, Nasal Swab for Flu (แพทย์สั่ง)
การรักษาพยาบาล
คำแนะนำ
ให้พักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ
ส่งพบแพทย์ เพื่อรับยาต้านไวรัส
การวินิจฉัยแยกโรค
มักไม่พบความผิดปกติอื่นๆ
Complication
Sinusitis/Otitis media/ Bronchitis/Pneumonia
Signs& Symptom
Rhinorrhea, headache, Anorexia
อาการไข้ ประมาณ 1-4 วัน
Muscle pain
Fever 38.5 – 40 c
Tonsilitis : เกิดจากเชื้อViral, Bacteria (group A beta-hemolytic streptococcus)
Complication : Per tonsillar abscess, AGN
Refer : ไม่ดีขึ้นใน 3 วัน
การรักษาพยาบาล
ATB 5 วัน : Pen V./ Amoxicillin/ Erythromycin
Mouth care
Acute bronchitis: เกิดจากเชื้อVirus, Bacteria
การรักษาพยาบาล
ไอ ให้ยา M. Ammon carb (ไม่ควรให้ยาชนิดระงับไอ)
กรณีติดเชื้อแบททีเรีย ให้ Amoxicillin
พักผ่อน ดื่มน้ำอุ่น
Complication
Pneumonia, Chronic Bronchitis, Emphysema
Signs& Symptom:
ไข้ต่ำ ไอ หอบ เหนื่อย เจ็บหน้าอก
Refer : ไอเกิน 3 วัน/ ไข้> 1 wks./น้ำหนักลด