Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal ), เกลือ Mg2+ , Al3+ , Ca2+ …
ยาระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal )
Uppre GI
ยากระตุ้นการทำงานของระบบทางเดินอาหาร (Prokinetic drug)
-เป็นยาในกลุ่มที่มีผลกระตุ้น หรือเพิ่มการเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหาร ทำให้ gastric emptying เร็วขึ้น
-ยาบางตัวเพิ่มแรงดันของ lower esophagus sphincter (LES) ้รักษา
GERD ได้
• เพิ่มการเคลื่อนไหวแบบ peristalsis ตลอดทางเดินอาหาร
ยากลุ่มนี้เช่น Domperidone , metoclopramide
(1) Domperidone (Motilium®)
กลไกการออกฤทธิ์ - เพิ่มการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและหูรูด LES -ลดการไหลย้อนกลับของอาหาร-ทำให้การทำงานขอ
กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กสัมพันธ์กัน-ลด gastric emptying time
ประโยชน์ในการรักษา -รักษา GERD - ลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน - ท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย -Diabetic gastroparesis
(2) Metoclopamide (Plasil® )
กลไกการออกฤทธิ์
ปิดกั้น D2– receptor และ 5-HT4 receptor
เพิ่มการเคลื่อนไหวของการเดินอาหาร
ลด gastric emptying time
เพิ่มความดันของ LES
ทำให้การทำงานของกระเพาะและลำไส้เล็กทำงานสัมพันธ์กัน
ประโยชน์ในการรักษา
รักษา GERD โดยใช้ร่วมกับยาลดกรด
ใช้ใน gastroparesis (gastric emptying ช้า) จากโรคเบาหวาน
ลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อาการไม่พึงประสงค์
เกิด extrapyramidal symptom เนื่องจากยาที่ไปปิดกั้น dopamine receptor ในสมอง
ชัก
ทำให้เกิดอาการง่วง (drowsiness)
ข้อห้ามใช้
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
ีการอุดตันของทางเดินอาหาร/ล าไส้อุดตัน
ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคลมชัก/หลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่ วยโรค Parkinson
ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ (Dyspepsia)
อาการ ปวดท้องส่วนบน ท้องอืดแน่นท้อง มีลมในท้อง เรอบ่อย บางคนอาจมี N/V อิ่มเร็ว แน่นท้องแม้กินอาหารเพีบงเล็กน้อย อาจมี
อาการแสบหน้าอก
สาเหตุ ความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร โรคของระบบทางเดินน้ำดี/ตับอ่อน พฤติกรรมในการรับประทานอาหารเหล้า บุหรี่ ยา NSAIDs ยานอนหลับ
ข้อบ่งใช้ ใช้บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ที่เกิดจากความผิดปกติของทางเดินอาหาร ซึ่งทำให้เกิดแก็สในกระเพาะอาหาร
Compound Cardamom Mixture (Mist Carminative)
Carminative mixture 15-30 mL tid –qid
Cinnamon oil, Peppermint oil, Camphor oil (oil 15 หยด ในน้ำ 30 mL
ยารักษากรดไหลย้อน (Gastro- Esophargeal Reflux Disease
(GERD) )
สาเหตุ
กระเพาะอาหารมีการยืดตัวมากเกินไป ไล่อาหารออกจากกระเพาะอาหารช้าผิดปกติ+ การคลายตัวของ LES
หลอดอาหารมีการบีบตัวผิดปกติ ปกติหลอดอาหารบีบตัวแบบ peristalsis หากมีการบีบตัวไม่แรงพอจะเกิด GERD ได้
Lower Esophageal sphincter (LES) ทำงานผิดปกติ เกิดการคลายตัวชั่วคราว
อาการของโรคกรดไหลย้อน
-เจ็บแสบยอดอก (Heart burn)
-ปวดท้อง
-กลืนลำบาก
-รู้สึกขมหรือเปรี้ยวในลำคอ
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งดสูบบุหรี่ ใส่เสื้อผ้าหลวมๆ
งดอาหารมัน ๆ ทอด อาหารที่มีกระเทียม มะเขือเทศ
นอนยกหัวสูง 6-10 นิ้ว ลดน้ำหนัก
การรักษาด้วยยา
ยาลดกรด (antacid) เมื่อมีอาการแสบร้อนทรวงอก
PPIs นิยมใช้และให้ผลด
H2-blocker
ยาช่วยย่อย (Digestive enzymes )
ส่วนประกอบของยาช่วยย่อย
Bile and bile salt: Ox bile extract, Dehydrocholic acid
Pancreatic enzymes: amylase, trypsin, Lipase (รวมเรียกว่า pancreatin )
HCL: Diluted HCl, Glutamic acid
ข้อบ่งใช้
การขาดเอนไซม์ที่ย่อยในกระเพาะอาหาร / ภาวะการหลั่งน้ำย่อยไม่เียงพอ
การขาดกรดเกลือ/ การขาดเอนไซม์จากตับอ่อน
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร (Peptic Ulcer )
มีอาการอักเสบหรือมีแผลบริเวณเยื่อบุผนังด้านในของทางเดินอาหาร (mucosa)มีลักษณะเป็นร่องลึก
อากรของโรค
ปวดท้อง
ปวดสัมพันธ์กับอาหาร
จุดเสียด แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดท้องเรื้อรังมานาน เป็นๆ หายๆ
อาการแทรกซ้อน
ปวดท้องรุนแรง และช็อกเนื่องจากแผลในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้ทะลุ
ปวดท้องและอาเจียนมาก เนื่องจากการอุดตันของกระเพาะอาหารหรือลำไส้
อาเจียนเป็นเลือดดำ หรือแดง เนื่องจากมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร
ปัจจัยหลักทำให้เกิดแผลในทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดมาก (HCL) เกินไป
การสร้างเมือก (mucus) ที่ใช้ป้องกันการทำลายเยื่อบุทางเดินอาหารลดลงหรือถูกทำลาย
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดแผลในระบบทางเดินอาหารหรือทำให้กลับเป็นซ้ำ
ทำให้หลั่งกรดเพิ่มขึน
การดื่มกาแฟ การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกฮอล์
ทานอาหารที่ไม่เป็นเวลา วิตกกังวล มีความเครียด
ปัจจัยส่งเสริมการทำลายเยื่อบุอาหาร
การกินยาแก้ปวด ลดไข้ แก้ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ กลุ่ม NSAIDs
การกินอารรสเผ็ด และเปรียว
ยากลุ่มต่างๆที่ใช้ในการรักษา
ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
(acid secretion inhibitors)
H2-blocker มีผลการหลั่งกรดและทำให้แผลในกระเพาะและลำไส้เล็กหายไวขึ้น
-Cimetidine -Ranitidine -Famotidine -Nizatidine
ประโยชน์
รักษาผลในทางเกินอาหารที่เกิดจากยากลุ่ม NSAIDs
รักษาแผลที่เกิดจาก Helicobacter pylori
GU/DU
รักษาโรคกรดไหลย้อน (GERD)
Proton Pump Inhibitors (PPIs) ยับยั้งการหลั่งกรดได้นานและมีประสิทธิภาพเนื่องจากเป็นการยับยั้งการกลั่งขั้นตอนสุดท้าย -มีความแรงกว่ายาในกลุ่ม H2-blocker - การรักษา สั้นกว่าการใช้ ranitidine
ประโยชน์
เป็นแผลในกระเพาะที่เกิดจากติดเชื้อ H.pylori
ป้องกันแผลจาก NSAIDs ในผู็ที่ต้องรับประทานยานี้เป็นเวลานานๆ
รักษา GU, DU
Zollinger-Ellison syndrome (first line)
GERD (first line)
อาการไม่พึงประสงค์
พบได้บ่อย รบกวนทางเดินอาหารทำให้คลื่นไส้ปวดท้อง ปวด
พบได้น้อย ผื่นคัน ดีซ่าน อ่อนล้า เอนไซม์จากตับในเลือดเพิ่ม ลดการดูดซึม vit B12
รูปแบบยา
ยาในกลุ่มนี้ (PPIs) ถูกทำลายด้วยกรดในกระเพาะอาหารได้จึงทำในรูปแบบ enteric-coated granule ใส่ใน capsule
ยาจะไปละลายใน pH ที่เป็นด่างในลำไส้ส่วนต้น แล้วดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย
ข้อควรระวังในการในการใช้ยากลุ่ม PPIs
ยาลดความเป็ นกรดในกระเพาะอาหาร มีผลลดการดูดซึมของยา
บางตัว
หากใช้ยากลุ่มนี้นานๆ อาจลดการดูดซึม
3.ยาป้องกันเยื่อบุและเพิ่มการสร้างเมือก (cytoprotectivedrugs)
Bismuth
Cytoprotective drugs
1.Sucrafate (Ulsanic R) เป็นสารเชิงซ้อนของ sucrose octasulfate กับ polyaluminium hydroxide ยาเม็ด 500 mg, 1g ยาน้ำแขวนตะกอน
กลไกลการทำงาน ทำปฏิกิริยากับกรดในกระเพาะอาหารเกิดสารข้นเหนียว ที่ (pH < 4 ) ซึ่งช่วยป้องกันแผลจากการทำลายของกรดและน้ำย่อยสัมผัสบริเวณที่เป็นแผลยังช่วยหลั่ง bicarbonate และเมือก
ข้อควรระวัง ของ sucrafate
ระวังผู้ปวยในโรคไต (ี AI salt)
ระวังการใช้ในสตรีมีครรภ์และให้นมบุตร
ADR: พบได้บ่อย คือท้องผูก และอาจพบมีอาการท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน อาหารไม่ย่อย ผื่นคัน ปากแห้ง
2.Misoprostal (Cytotec R) ยาเม็ด 200 µg qid (800 µg )
กลไกการทำงาน มีฤทธิ์เพิ่มการสร้าง mucous และเพิ่มการหลั่ง bicarbonate และ เพิ่มการไหลเวียนเลือดในชั น mucosa
ประโยชน์ในการรักษาของ misoprostol
ป้องกันการเกิดแผลในทางเดินอาหารในผู้ป่วยที่ใช้ ยากลุ่ม NASIDs เป็นระยะเวลานาน เช่นผู้ป่วยสูงอายุที่มีประวัติ เป็น PU
เป็นยาราคาแพงเก็บไว้ใช้ในกรณีจeเป็นเท่านั น
ยามีอาการไม่พึงประสงค์มาก จึงนิยมใช้ H2-blocker และ PPIs มากกว่า
อาการข้างเคียง ท้องเสีย ปวดท้อง ปวดเกร็ง ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
3.Colloidal Bismuth compound
กลไกการทำงาน คล้าย sucrafateคือ เคลือบแผลในทางเดินอาหารปกป้องแผลจากกรดและ pepsin กระตุ้นการหลั่ง protaglandins เยื่อเมือกและ bicarbonate มีฤทธิิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรียได้จึงรักษา PU ที่ติดเชื้อ H. pylori
ประโยชน์การรักษา -รักษา PU - ใช้รักษาแผลในกระเพาะอาหารหรือใช้ยาร่วมกับยา ABO
อาการไม่พึงประสงค์ ทำให้อุจจาระดำ ลิ้นดำ เลี่ยงในผู้ป่วยโรคไต เนื่องจากจะเกิดการสะสมของ bismuth ได้
ปรับ pH ในกระเพาะอาหาร (acidneutralizing drug)
ยาลดกรด (Antacids)
กลุ่ม potent antacdids
Calcium carbonate* , CaCO3
Magnesium hydroxide, Mg(OH)2
Sodium bicarbonate* , NaHCO3
กลุ่ม less potent antacids
Magnesium trisilicate
Aluminum hydroxide gels
Antisplasmodic (ลดการหดเกร็ง)
Dicyclomine
ประโยชน์ในการรักษา ลดการหดเกร็งและการบีบตัวที่มากเกินกว่าปกติ ลดการเกร็งปวดของอวัยวะภายใน
อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง กลืนลำบาก ในผู็ป่วยสูงอายุอาจจะเกิดปัสสาวะไม่ออก
ข้อควรระวัง ระมัดระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุเนื่องจากทำให้มีปัสศาวะคั่งหรือมีอาการท้องผูกในผู้ป่วยสูงอายุ
กลไกการออกฤทธิ์
-ลดการบีบเกร็งตัวของกล้ามเนื้อเรียบทางเดินอาหาร
-ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
-ทำให้อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารนานขึ้น
ประโยชน์ในการรักษา ลดการหดเกร็งและการบีบตัวที่มากเกินกว่าปกติ ลดการเกร็งปวดของอวัยวะภายใน
อาการไม่พึงประสงค์ ปากแห้ง กลืนลำบาก ในผู็ป่วยสูงอายุอาจจะเกิดปัสสาวะไม่ออก
ข้อควรระวัง ระมัดระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุเนื่องจากทำให้มีปัสศาวะคั่งหรือมีอาการท้องผูกในผู้ป่วยสูงอายุ
วิิธีการรับประทาน
ยาเม็ด 1 -2 เม็ด เคี้ยวให้ละเอียดอ่อนก่อนกลืน (ยกเว้น Gacida ® TAB, Kremil ® TAB, Veragel ® DMS TAB) )
ยาน้ำแขวนตะกอน 1-2 ชต โดยเขย่าขวดก่อนรินยา
บรรเทาอาการปวดท้อง รับประทานวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร 1 ชั่วโมง และก่อนนอนหรือรับประทานอาหารเฉพาะเวลาที่มีอาการ
ข้อควรระวังในการใช้ยารักษากรด
ยาลดกรด+ ยาชนิดอื่นๆ (drug-drug interaction) เนื่องจากยาจะลดการดูดซึมของยาของยาอื่นได้ เช่น เหล็ก ยาชีวะปฎิชีวะ บางกลุ่ม ไปเกิด complex ทำให้อยู่ในรูปไม่ละลายน้ำ ไม่ถูกดูดซึม ให้รับประทานยาห่างกัน 2 ชม.
ยาลดกรด+ ยาเม็ดที่เป็น Enteric-coated (drug-drug interaction) ทำให้ enteric coated tablet เกิดการแตกตัวที่กระเพาะอาหาร ทำให้การดูดซึมของยาผิดไปจากความต้องการ
อาจเกิดปฏิกิริยา (drug interaction) ต่อยาอื่นๆ ยารักษาโรคหัวใจ ยารักษาวัณโรค ยายับยั้งการหลั่งกรด ยาเชื้อราบบางชนิด เช่น ketoconazole
อาการไม่พึงประสงค์
เกลือ Al ------ ท้องผูก
เกลือ Mg-----ท้องเสีย
ยากลุ่ม potent antacid อาจทำให้เกิดภาวะ หลั่งกรดมากกว่าปกติ
พวกเกลือ Bicarbonate อาจรบกวนสมดุลกรดด่างในร่างกายเกิดเป็น metabolic alkalosis ต้องระวังในผู้ป่วยโรคไต
ระวังใช้ในผู้ป่วยเรื้อรัง
ระวังการใช้ในผู็ป่วยโรคไต โดยเฉพาะยาที่มีส่วนผสมของเกลือ Mg
หากมีเกลือ Na ควรระวังในผู้ป่วย Hypertension (HT) โรคไต โรคหัวใจ
ระมัดระวังการใช้ในสตรีมีครรภ์และมารดาให้นมบุตร (Al cat.C, Mg cat. B)
ยาต้านอาเจียน (Antiemetics)
2.ขย้อน (Retching)
3.อาเจียน (Vomiting)
1.คลื่นไส้(Nausea)
อาการแสดงทางคลินิก แบ่งได้ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1.อาการคลื่นไส้อาเจียนแบบธรรมดา อาการหายเองได้โดยไม่ต้องรักษาหรือรักษาเพียงเล็กน้อย
2.อาการคลื่นไส้อาเจียนแบบซับซ้อน เป็นอาการคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากสารที่เป็นอันตรายเหตุการร์ที่เกิดมีผลต่อสภาพจิตใจ
การรักษา
Nonpharmacologic Therapy
รับประทานอาหารเหลวในปริมาณที่น้อยแต่บ่อยครั้งขึ้น
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรักษาด้านจิตใจ
ให้สารน้ำและอาหารเพื่อทดแทนเกลือแร่
Pharmacologic Therapy : ยาต้านอาเจียน(Antiemetics)
ความถี่ ระยะเวลาของการเกิด ความรุนแรงของอาการ
รูปแบบเภสัชศาสตร์ที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
สาเหตุของการเกิดอาการเจียน
การตอบสนองต่อยาของผู้ป่วยในรายที่เคยใช้ต้านอาเจียน
ตัวยา
(2) Metoclopramide (Plasil®) (ปิดกั้น dopamine D2 receptor และ 5-HT3 receptors ในCTZ ของสมอง)
ข้อบ่งใช้
N/V จากการผ่าตัด โรคต่างๆ ยาและการฉายรังสีของระบบทางเดินอาหาร
(6) Itopride (Ganaton®) (dopamine D2
antagonizing activity)
ข้อบ่งใช้ อาการคลื่นไส้ อาเจียนจากระบบทางเดินอาหารจาก
non-ulcer dyspepsia(chronic gastritis)
หมายเหตุ จัดเป็นยาควบคุมพิเศษ
(1) Domperidone (Motilium® M) ยาเม็ด ยาน้ำแขวนตะกอน
ข้อบ่งใช้
ปลอดภัยในการใช้ในเด็กและผู้สูงอายุ มากกว่า metoclopamide
N/V ที่เกิดจากความ ผิดปกติของการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
หมายเหตุ (รับประทานก่อนอาหาร )
(3) Dimenhydrinate
(DramamineR )H1
-receptor blocker
ข้อบ่งใช้
ความผิดปกติของระบบทรง
ตัวภายในหู
ระงับอาเจียนจากการผ่าตัด
ฉายรังสียาชนิดต่างๆ
เมารถ เมาเรือ (motion
sickness)
การแพ้ท้อง
หมายเหตุ 1-2 tab
(30 -60 mins)
ข้อควรระวัง
2) ผู้ป่วยที่เป็นโรคต้อหินชนิดมุมแคบ/ต่อมลูกหมากโต
3)หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับยาที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง เช่น แอลกฮอล์
1) ยาอาจจะทำให้เกิดอาการง่วงนอนได้หลีกเลี่ยงการขับขี่ ยานพาหนะ
(4) Cinnarizine
(StugeronR ) Flunarizine
ข้อบ่งใช้
• ** ใช้ต้านการอาเจียนที่เกิดเนื่องจาก
ความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะรับการทรงตัวในหูผิดปกติ ใช้ในการรักษา
อาการผิดปกติที่เกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ป้องกันไมเกรน
ป้องกันอาการเมารถ เมาเรือ
หมาเหตุ 1 tab tid pc
(5) Ondransetron (Zofran®) (5HT3 - receptor antagonist )
ข้อบ่งใช้ - ป้องกันและรักษา อาการคลื่นไส้ อาเจียน เนื่องจาก การใช้ยาเคมี บำบัด การฉายแสง N/V หลังการผ่าตัด
(7) Chlopromazine
หมายเหตุ ทำให้เกิดการง่วงนอนสูงมาก ไม่แนะนำใช้ในการรักษาอาการอาเจียนทั่วไป
ข้อบ่งใช้ ยารักษาโรคจิตเภทมารักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียนและอาการสะอึก
Lower GI
ยารักษาอาการท้องผูก (Laxatives /Cathartics)
อาการท้องผูก (Constipation)
อุจจาระถ่ายนั้นมีลัฏษณะแข็ง แห้ง ถ่ายลำบาก
มีก้อนอุจจาระที่ใ หรือเล็กผิดปกติหญ่
การถ่ายอุจจาระที่จำนวนวครั้งที่ผิดปกติ <3 ครั้ง/สัปดาห์
การรักษา
Nonpharmacologic Therapy ฝึกนิสัยการถ่าย ออกกำลัง ไม่กลั้นอุจจาระ รับประทานอาหารที่ให้กากใยมากๆ จำพวกผักและผลไม้ ไม่เครียด
Pharmacologic Therapy
การใช้ยาระบาย
3.ช่วยลดอันตรายอันเป็นผลมาจากการเบ่งถ่ายในผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต ผู้ป่วยโรคหะวใจและหลอดเลือดโคโรนารี
4.ลดภาวะท้องผูกระหว่างการตั้งครรภ์หรือหลังคลอด
ลดความเจ็บปวดบริเวณทวารหนัก ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดเย็บแผลหลัง
คลอดผู้ป่วยริดสีดวงทวารหนักและผู้ป่วยที่เป็นฝีบริเวณทวารหนัก
5.ใช้เร่งการขับสารพิษออกจากลำไส้
รักษาอาการท้องผูก (constipation)
6.ใช้เตรียมลำไส้ก่อนการผ่าตัด การส่องกล้องตรวจลำไส้เล็ก
1.ยาที่มีฤทธิ์เพิ่มปริมาณเนื้ออุจจาระ (Bulk-forming Laxatives)
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นพวกเส้นใย (fibers) ที่ละลายน้ำได้แต่ถูกไม่ย่อย ส้นใยจะดูดน้ำเก็บน้ำไว้ในโพรงลำไสใหญ่ ทำให้เนื้ออุจจาระเพิ่มขึ้น จากนั้นกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนไหวของลำไส้
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยท้องผูกเรือรั้ง,ริดสีดวงทวาร,irritable bowel syndrome, ผู้ป่วยสูงอายุ,ผู้หญิงตั้งครรภ์,ผู้ป่วยนอนเตียง
ข้อแนะนำ หลังรับประทานยาให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ (อย่างน้อย 1 แก้ว)
ข้อควรระวัง ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีการอุดตันของเดินอาหาร ท้องอืด แน่นท้อง มีลมแน่นท้อง
ยาผง Psyllium (Isphahula husk) ซองละ 3.5, 5 g 1 ซอง + น้ำ 150 ml bid, pc
เมื่อผสมน้ำแล้วควรดื่มทันที หากทิ้งไว้จะเหนียวเกิดกลืนลำบาก
ไม่ควรผสมน้ำร้อน
เลี่ยงการทานร่วมกับ bulk-forming laxative ตัวอื่น
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นลำไส้ใหญ่ (Stimulant laxatives,Irritant laxatives)
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มการสะสมของน้ำและอิเลคโทรไลต์เข้าสู่โพรงลำไส้ใหญ่
กระตุ้นปมประสาทบริเวณลำไส้ใหญ่ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวและขับถ่ายอุจจาระ
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัว
ผู้ป่วยสูงอายุที่มีอาการท้องผูกเรื้อรัง และใช้ยากลุ่ม bulk-forming laxative ไม่ได้ผล (ระยะสั้น)
ท้องผูกเฉียบพลัน (ไม่เกิน 1 wk)
2.1 Bisacodyl (enteric coated tablet )
Onset oral : 6 hr ()
Onset rectal suppository : 15 – 60 นาที
ประโยชน์ จัดเป็นยาถ่ายอย่างแรงอุจจาระจะถูกขับออกจากลำไส้หมดใช้ในการเตรียมลำไส้เพื่อการครวจลำไส้แบบพิเศษ
2.2 Senokot R (Sennoside A & B)
Onset : oral 6 – 8 hr
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้ปัสสาวะ เป็นสีส้ม/เหลืองเข้ม
ทำให้เกิดการขาดน้ำ และอิเล็กโทรไลต์ถ้าใช้เป็นระยะเวลานาน
อาจรู้สึกปวดมวนท้อง
2.3 Castor oil ออกฤทธิ์โดยเพิ่มของเหลวในลำไส้โดยยับยั้ง Na+/K+ATPase เพิ่ม cAMP
อาการไม่พึงประสงค์
2.ขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่ได้ง่าย
3.ทำให้เกิดอาการปวดท้องมากกว่ายาอื่นๆ
1.Lipoid pneumonia
4.อาจทำให้เกิดเลือดคั่งในอวัยวะช่องเชิงกราน
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ห้ามใช้ในผู้สูงอายุ
ผู้ป่วยที่อุจจาระอัดแน่นแข็งเป็นก้อน
3.ยาที่ออกฤทธิ์เพิ่มแรงดันในลำไส้ (Osmotic laxatives)
3.2 กลีเซอรีน (Glycerine) เป็นยารูปแบบยาเหน็บ ทำให้ osmotic pressure ในลำไส้เพิ่มขึ้น ออกฤทธฺิ์กระตุ้นเยื่อเมือกของทวารหนัก ข้อบ่งใช้ - ใช้เป็นยาระบายในทารกและเด็กเล็กเป็นครั้งคราว ใช้กรณีท้องผูกเฉียบพลัน ไม่ควรใช้นานเกิน 1 wk
3.3 Saline laxatives ยาเกลือของอิออนที่ละลายน้ำ ดึงน้ำเอาไว้ ทำให้ osmotic pressure ในลำไส้เพิ่มขึ้น -กระตุ้นในลำไส้มีการเคลื่อนไหวอย่างแรง และรวดเร็ว ยากลุ่มนี้ เช่น Mg(OH)2 หรือ Milk of magnesia (MOM) -1-2 ซตก่อนนอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
3.1 Duphalac® (Lactulose) ชนิดน าเชื่อม ขนาด 10 g/ 15 mL ขนาดยา ผู้ใหญ่ 45 mL / 2 -3 ครั้งต่อวัน อาการไม่พึงประสงค์ แน่นท้อง ท้องเฟ้อ ผายลม
4.ยาที่มีฤทธิ์หล่อลื่นและทำให้อุจจาระอ่อนหนุ่ม (stool softeners, emollient lubricants, surfactant laxatives) ยามีคุณสมบัติเป็นสารลดแรงตึงผิว ยามีฤทธิ์เพิ่มการหลั่งน้ำ ยาในกลุ่มนี้ เช่น Docusate , Poloxamer, mineral oil Onset : 1 – 2 วัน เหมาะผู้ป่วยที่อุจจาระแห้งแข็ง ผู้ป่วยโคหัวใจที่ลดหรือเลี่ยงการเบ่งอุจจาระ
ยาสวนทวาร (Enema) ตัวยา: Sodium phosphate + Sodium citrate Onset : 20-30 นาที ใช้ในการเตรียมลำไส้ก่อนผ่าตัดหรือ ใช้ยากลุ่มอื่นไม่ได้ผล
ยารักษาริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids ) เป็นอาการที่เกิดจาการโตขึ้นของกลุ่มเส้นเลือด และเนื้อเยื่อที่บริเวณปลายของลำไส้ใหญ่ -Internal hemorrhoids -External hemorrhoids
Non-pharmacotherapy
นั่งในน้ำอุ่น (43.3 – 46.1 oC) เป็นเวลา 15 นาที วันละ 2-3 ครั้ง
Sclerosing agent
ล้างทวารหนักให้สะอาดด้วยสบู่อ่อน
การผ่าตัด
Pharmacotherapy
2.1 ) ยารับประทาน
2.2) ยาระบาย เพื่อช่วยลดอาการท้องผูก
2.3) ยาเหน็บ/
ยาขี ผึง
ยาแก้ท้องเสีย (Antidiarrhea)การถ่ายอุจจาระที่มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นหรือเนื้ออุจจาระ -มการถ่ายอุจจาระ >3 ครั้งต่อวัน -หรือมีการถ่ายเป็นมูกเลือดปน>1 ครั้ง หรือถ่ายเป็นน้ำ >3 ครั้งภายใน 24 ชั่วโมง
ท้องเฉียบชนิดเฉียบพลัน (Acute diarrhea) การติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส สารพิษจากเชื้อโรค
ท้องเสียชนิดเรื้อรัง (Chronic diarrhea) >30 วัน อารมณ์เครียด โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน เนื้องอก มะเร็ง
1.การให้สารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ทดแทน
1.1 การให้สารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ทดแทน
ยารักษาอาการท้องเสีย
2.3 ยาต้านการหลั่งน้ำและอิเล็กโทรไลต์
2.4 ยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงและปรับสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้
2.2 ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับสารพิษ (adsorbents)
2.5 ยาปฏิชีวนะ
2.1 Loperamide (Imodium®) ยาหยุดถ่าย
เกลือ Mg2+ , Al3+ , Ca2+
จะถูกดูดซึมได้น้อย
แบ่งได้ แต่ ห้ามบด ห้ามเคี ยว