Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค และการรักษาเบื้องต้น - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรค และการรักษาเบื้องต้น
Fever
ภาวะไข้ : คือการที่อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินปกติ
ร่างกายคนปกติ จะมีอุณหภูมิ คือ 35.5 – 37.4 C (เมื่อวัดทางปาก)
อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม
อุณหภูมิขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อหรือการออกกำลังกาย
และฮอโมนในร่างกาย
ระดับของไข้
ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 C
ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 C
ไข้ต่ำ (Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 C
ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 C. ขึ้นไป
สาเหตุของการเกิดไข้
การติดเชื้อโรคต่างๆ ประมาณ 91% มักมีไข้ทั้งหมด
การได้รับบาดเจ็บ ของร่างกายปรือหลังผ่าตัด 1-2 วันแรก
การบาดเจ็บของประสาทส่วนกลาง ที่กระทบต่อ Set point โดยตรง เช่น เนื้องอกใน
สมอง เส้นเลือดสมองแตก
โรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งต่อมน้ าหลือง
ความผิดปกติของระบบเลือด
โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ
cough
อาการไอ เป็นปฎิกิริยาหนึ่งที่ร่างกาย ขับสิ่งแปลกปลอมออก มักเกิดร่วมกับโรค
หรือภาวะต่าง
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การคั่งค้างของเสมหะ
อากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด
การสูดดมสารเคมี
ลักษณะของอาการไอ
ไอคล้ายเสี่ยงเห่า (Barkilg cough) เกิดจากกล่องเสียงอักเสบ จะมีอาการ
ไอแบบแห้งๆ เสียงก้อง
ไอกรน (Whooping cough) หลังจากไอเป็นชุด จะมีเสียง “วู๊บ” จาก
การหายใจเข้าเร็ว และเต็มที่ พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ
ไอแบบมีเสียงหยาบ (Harsh) พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ จากหลอดลม
แห้ง เจ็บ อาจมีเสมหะ ซึ่งมีลักษณะใส หรือขาวข้น ปนหนอง
asthma syndrome
อาการหอบ : นอกจากความถี่ของการหายใจต้องสังเกตสิ่งต่อไปนี้ร่วมด้วย
ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Accessory muscle )
เหงื่อออกมาก ( Sweating )
สีผิวโดยเฉพาะริมฝีปาก ( Cyanosis )
Conscious change
นอนราบไม่ได้ ( Chest discomfort )
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการ ไข้ ไอ หอบ
การวินิจฉัย Pulmonary Tuberculosis (TB)
กลุ่มอาการ : ไข้ ไอ เจ็บคอ ไข้ต่ำ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ไอเรื้อรังเป็นเดือน
PE: Lung พบ Crepitation
การรักษาพยาบาล : Refer
การวินิจฉัย : Common cold
กลุ่มอาการ : -
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ครั่นเนื้อ ครั่นตัว อ่อนเพลีย คัดจมูก น้ำมูกใส ไอแห้ง มีเสมหะขาว
PE: Lung Clear
การรักษาพยาบาล : การรักษาตามอาการได้แก่
Paracetamol
CPM, น้ำมันยูคาลิปตัส
M. Tussive
Refer: Tachypnea/Fever > 7 วัน
การวินิจฉัย :
Pharyngitis
Tonsilitis
กลุ่มอาการ : ไข้ ไอ เจ็บคอ ไข้ต่ำ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ไอมีเสมหะ มีน้ำมูก
PE: Tonsil enlarge, คอแดง
การรักษาพยาบาล :
Mouth care
ATB 5 วัน : Pen V./ Amoxicillin/ Erythromycin
Refer : ไม่ดีขึ้นใน 3 วัน
การวินิจฉัย : Mumps
กลุ่มอาการ : ไข้ ไอ เจ็บคอ ไข้ต่ำ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวดในรูหู/หลังใบหู
PE: Lymnode enlarge
การรักษาพยาบาล : รักษาตามอาการ
ดื่มน้ำสะอาดมาก ๆ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอจนกว่าอุณหภูมิในร่างกายจะลดลงเป็นปกติ
ประคบร้อนหรือประคบเย็นเพื่อช่วยลดอาการปวดบวมที่บริเวณต่อมน้ำลาย
7-10 วัน อาการไม่ดีขึ้นควรรีบไปพบแพทย์
การวินิจฉัย : Influenza
กลุ่มอาการ : ไข้สูง
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ปวดเมื่อกกล้ามเนื้อมาก อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คัดจมูก น้ ามูกใส ไอ แห้งๆ
PE: Nose พบ Swellen
การรักษาพยาบาล :
ส่งพบแพทย์ เพื่อรับยาต้านไวรัส
คำแนะนำ
ให้พักผ่อนและดื่มน้ ามากๆ
การวินิจฉัย : Measles
กลุ่มอาการ : ไข้ ไอ เจ็บคอ ไข้ต่ำ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ไข้สูงตลอด เบื่ออาหาร น้ำมูกใส กระสับกระส่าย ไอแห้งๆ ตาแดงน้ำตาไหล
PE: Koplik’s spot ที่กระพุ้งแก้ม
การรักษาพยาบาล : รักษาตามอาการ
ทานยาพาราเซตตามอลหรืออิบูโพรเฟนเพื่อลดไข้และอาการปวดกล้ามเนื้อ
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
7-10 วัน อาการไม่ดีขึ้นควรรีบไปพบแพทย์
การวินิจฉัย : Acute
Bronchitis
กลุ่มอาการ : ไข้ หายใจเหนื่อย /
หายใจลำบาก ไข้ต่ำๆ ไข้สูง มีไข้ ไม่มีไข้
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ไอแห้งๆ หรือมีเสมหะ ไอมากเวลากลางคืน เป็นมา 1-4 wks.
PE: Lung พบ Rhonchi/Wheezing, Decrease breath sound,
hyperrenance
การรักษาพยาบาล :
พักผ่อน ดื่มน้ำอุ่น
ไอ ให้ยา M. Ammon carb (ไม่ควรให้นาชนิดระงับไอ)
กรณีติดเชื้อแบททีเรีย ให้ Amoxicillin
Refer : ไอเกิน 3 วัน/ ไข้> 1 wks./น้ำหนักลด
การวินิจฉัย : Bronchiolitis
กลุ่มอาการ : ไข้ หายใจเหนื่อย /
หายใจลำบาก ไข้ต่ำๆ ไข้สูง มีไข้ ไม่มีไข้
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
เด็กอายุต่ ากว่า 2 ปี เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม
PE: Lung พบ Wheezing
การรักษาพยาบาล : - ให้ Oxygen - Refer ด่วน
การวินิจฉัย : Asthma.
กลุ่มอาการ : ไข้ หายใจเหนื่อย /
หายใจลำบาก ไข้ต่ำๆ ไข้สูง มีไข้ ไม่มีไข้
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ไอมีเสมหะ มีเสลดเหนียว อาจมีคัดจมูก คันคอเป็นหวัด จามน ามา
ก่อน ไอมากเวลากลางคืน
PE: Lung พบ Wheezing
การรักษาพยาบาล : - ให้พ่นยา MDI - Refer
การวินิจฉัย : Pharyngotonsillitis
(คอและทอลซิลอักเสบ)
กลุ่มอาการ : ไข้ ไอ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
เจ็บคอเวลากลืนอาหาร กลืนน้ าลายล าบาก คอแห้ง
PE: คอแดง(จากเชื้อไวรัส) ถ้าเกิดจากเชื้อแบททีเรีย คอแดงมาก ทอลซิลโตมาก ในเด็กคล าต่อมน้ าเหลืองได้ บริเวณคอ
การรักษาพยาบาล :
Mouth care
ATB 5 วัน : Pen V./ Amoxicillin/ Erythromycin
Refer : ไม่ดีขึ้นใน 3 วัน
การวินิจฉัย : Pertussis (ไอกรน)
กลุ่มอาการ : ไข้ต่ำๆ ไอติดต่อกันเป็นเวลานาน
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
ถ้าหยุดไอจะหายใจนาน พบในเด็ก
PE: อาจมีตาขาวแดงจาดเส้นเลือดฉีกขาด
การรักษาพยาบาล :
ในรายที่ไม่มี Complication ให้ Erythromycin
แนะนำ น้ำมะนาว ผสม น้ำผึ้ง จิบ
ดื่มน้ำอุ่น
Refer ถ้าอาการแสดง > 1 wks.
การวินิจฉัย :
Allergic Rhinitis
Hay fever
กลุ่มอาการ : ไม่มีไข้ หวัดคัดจมูก
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
น้ำมูกใส จามบ่อย คันในจมูก น้ าตาไหล คันตา แสบตา มักมีอาการตอนเช้า/อากาศเย็น สัมผัสฝุ่นละออง/แพ้สารต่างๆ
PE: พบเยื่อบุจมูกบวม และซีด
การรักษาพยาบาล : หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ คือ - เลือกใช้ปลอกหมอน ผ้าปูที่นอน และเครื่องนอน ที่เป็นชนิดปลอดไรฝุ่น เพื่อลดการสัมผัสกับตัวไรฝุ่น , - ล้างมือหลังเล่นกับสัตว์ หรือสัมผัสกับสัตว์เสมอ
การวินิจฉัย : Sinusitis
กลุ่มอาการ : -
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ :
เป็นหวัดเรื้อรัง ปวดมีนๆ หนักๆ บริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้ม รอบๆกระบอกตา มักมีอาการตอนเช้า/เวลาก้ม ศีรษะ เปลี่ยนท่า เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียว ในลำคอ
PE: พบเยื่อจมูกบวมแดง เคาะปวดบริเวณโพรงไซนัส
การรักษาพยาบาล :
รักษาตามอาการ, ล้างจมูก
Amoxycillinนาน 10-14 วัน ถ้าแพ้ penicillin พิจารณาให้ erythromycin
ในกรณีที่ให้การรักษา 3-5 วันแล้วไม่ดีขึ้น Refer
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการ ไข้ ไอ หอบ
การวินิจฉัย : Croup
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
เมื่อหยุดไอ จะหายใจยาวมาก มักมีอาเจียนร่วมกับไอ
น้ำมูกใส หายใจมีเสียง Stridor ตัวขียว
PE: Lung พบ Rhonchi & Wheezing คอบริเวณ
หลอดลมบุ๋ม ซี่โครงบุ๋ม Subcostal retraction
กลุ่มอาการ :
ไข้ต่ำๆ ไอเสียงแหบ(Barking) ไอเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน
พบในเด็ก 6 mo - 3 ปี
การรักษาพยาบาล : - ให้ Oxygen - Refer
การวินิจฉัย : Diphtheria
กลุ่มอาการ : - ไข้ ไอ
พบในเด็ก 1-10 ปี
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
มีประวัติสัมผัสโรค ครั่นเนื้อครั่นตัว เจ็บคอ เสียงแหบ
หายใจลำบาก หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ไม่เคยได้รับ
การฉีดวัคซีนไอกรน/ฉีดไม่ครบ
PE: หน้าอกบุ๋มขณะหายใจ ฝ้าขาวปนเทาที่ผนังคอ อาจ
พบฟ้าขาวที่ จมูก บริเวณ Septum
การรักษาพยาบาล : - Refer ด่วน
การวินิจฉัย : Pneumonia
กลุ่มอาการ :
ไข้สูง 39- 40 C
ไข้ต่ำ
ไม่มีไข้
ไอ เจ็บหน้าอก แปลบ เวลาหายใจเข้า หรือแรงๆ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
อาจหายใจเร็ว หอบเหนื่อย ไข้ มักเกิดเฉียบพลัน ไอ
แห้งๆเป็นพัก ต่อมามีเสมหะ
PE: Lung พบ Crepitation/Wheezing/Rhonchi
เคาะ พบ dullness, ฟัง พบ diminished
breath sound
การรักษาพยาบาล : - O2, Clear air way - Refer ด่วน
การวินิจฉัย :Pneumothorax
กลุ่มอาการ :
ไม่มีไข้ ไอแห้งๆ
หอบมาก เจ็บหน้าอกเป็นครั้งคราว
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
Trachea เบียวไปด้านตรงข้าม หากปล่อยไว้นาน
PE: เคาะโปร่งกว่าอีกขางฟังเสียงปอดไม่ได้ยิน
การรักษาพยาบาล :
ดูแลภาวะฉุกเฉิน ABCs
พิจารณาให้สารน้ าทางหลอดเลือดดำ
Refer
การวินิจฉัย : Hyperventilation syndrome
กลุ่มอาการ :
-ไม่มีไข้ หอบ หายใจเร็ว
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
หายใจหอบลึก มือจีบ เกร็ง ทั้ง 2 ข้างหลังมีเรื่องขัดใจ
PE: Lung clear
การรักษาพยาบาล :
หายใจในกรวยกระดาษ/ถุงพลาสติก
Control breathing
Refer
การวินิจฉัย : COVID – 19
กลุ่มอาการ :
ไข้ เหนื่อย หอบ ไอ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
ไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ ามูก เหนื่อยหอบ หลังเดินทาง ไป
พื้นที่มีการระบาด ของ โคโรนา ไวรัส ภายใน 14 วัน
การรักษาพยาบาล : - Refer
การวินิจฉัย : Chronic Obstructive
Pulmonary Disease ( COPD)
กลุ่มอาการ :
หอบเหนื่อย ไอ
การตรวจร่างกาย/การตรวจทางห้องปฏิบติการ
อายุมากกว่า 40 ปีไอมีเสมหะหรือไม่มีเสมหะ
PE: Dyspnea, pursed lip, การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ,
Barrel shape, Prolong expiratory time,Wheezing, Clubbing finger
การรักษาพยาบาล :
Refer