Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Advanced Product Quality Planning (APQP), นายสมประสงค์ โคลนกระโทก…
Advanced Product Quality Planning (APQP)
APQP คือ
PQP
การวางแผนคุณภาพ
A
ระดมความคิดจากหลายฝ่าย
บูรณาการระหว่าง Core tools และหน่วยการทำงาน
การจัดตั้งทีมงาน APQP
เป็นคณะทำงานแบบข้ามสายงาน
อาจรวมถึงลูกค้า ผู้ส่งมอบ เข้าร่วมเป็นสมาชิกได้
APQP กับข้อกำหนด IATF16949
8.2 ข้อกำหนกของผลิตภัณฑ์
8.3 การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
8.1 การวางแผนและการควบคุม
9.1.1.2 การระบุการใช้ SPC
8.5.1.1 แผนการควบคุม
7.1.5.1.1 MSA
8.5.6 การควบคุมการเปลี่ยนแปลง
9.1.1.1 การเฝ้าติดตาม และวัดกระบวนการ การผลิต
APQP Process
Inputs
ความชัดเจนและครบถ้วนของข้อกำหนดลูกค้า
การเปลี่ยนแปลงของข้อกำหนด / ECN
ข้อกำหนดเฉพาะลูกค้า
Outputs
สอดคล้องตาม Design inputs
แผนสำรอง/ฉุกเฉิน
PPAP / supplier PPAP สอดคล้องตามข้อกำหนดของลูกค้า
Lessons learnt
Man
ความเข้าใจและการใช้งาน Core tools
การระดมความคิดจากทีมงานหลายแผนก
บันทึกการฝึกอบรมของทีมงาน
Method
การกำหนดและทบทวน design input
การควบคุม Engineering Change
การวางแผน process design ของโครงการ
อื่นๆ
การศึกษาความเป็นไปได้ / ความเสี่ยง
Machine
ความถูกต้องของ Program
ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดแบะทดสอบ
การใช้ facility จริงในการทดลองการผลิต
การควบคุมการจัดทำ Tooling / outsource control
Measurement
การติดตาม/วิเคราะห์ผลและแผนการแก้ไข
ลูกค้าพอใจ
ตัววัดเหมาะสม
Corrective Action Request (CAR) ที่พบบ่อยในการ Audit
คุณสมบัติของทีม
ข้อมูลจากลูกค้า ถูกต้อง ชัดเจน
Feasibility study ไม่ใช้ทีมงานคละแผนก
ไม่ทำตามข้อกำหนดเฉพาะของลูกค้า
ไม่ได้ใช้ทีมงานคละแผนก
แผนควบคุมไม่ได้กำหนดคุณลักษณะพิเศษ
การทวนสอบการใช้งานของการออกแบบกระบวนการ
Failure Mode and Effects Analysis (FMEA)
FMEA กับข้อกำหนด IATF16949
8.7.1.4 / 8.7.1.5 ควบคุมการซ่อมแซมแก้ไข
8.3.5.1 ผลลัพธ์ที่ได้จากการออกแบบ
8.3.2.1 การใช้แนวความคิดจากหลายฝ่าย
8.3.3.3 คุณลักษณะพิเศษ
9.1.1.2 ระบุการใช้เทคนิคสถิติ
อื่นๆ
ประเภทของ FMEA
Design FMEA
Process FMEA
ผลกระทบที่เกิดจากความล้มเหลว
เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นกับลูกค้า
ลูกค้าไม่สามารถประกอบชิ้นงานถัดไปได้
การจัดทำรายการสรุปของผลกระทบช่วยให้ทีมกำหนดได้ง่าย
อื่นๆ
Corrective Action Request (CAR) ที่พบบ่อยในการ Audit
ข้อกำหนดลูกค้า CSR
ระดับของ S,O,D
ความเชื่อมโยงของแผนเชื่อมโยง
การทบทวนและอัพเดท
statistical Process Control (SPC)
เมื่อใดต้องใช้แผนควบคุม
เมื่อไม่สามารถนำเทคนิคป้องกันความเสียหายมาใช้ได้
เมื่อค่าลำดับความเสี่ยงมีค่าสูง
เพื่อใช้ในการควบคุมลักษณะที่สำคัญ
เป็นความต้องการของลูกค้า
เมื่อต้องเฝ้าดูกระบวนการ
SPC กับข้อกำหนด IATF16949
9.1.1.1 การเฝ้าติดตามกระบวนการผลิต
9.1.1.3 แนวคิดพื้นฐานทางสถิติ
8.5.1.3 การทวนสอบการติดตั้ง
8.6.4 การทวนสอบและยอมรับ
9.1.1.2 การระบุใช้ SPC
Corrective Action Request (CAR) ที่พบบ่อยในการ Audit
ระบุอยู่ในแผนควบคุม
ปฎิบัติตาม CSR การควบคุมคุณลักษณะพิเศษ
การทดลองผลิต
อื่นๆ
Production Part Approval Process (PPAP)
เมื่อใดต้องจัดทำ PPAP
ชิ้นส่วนหรือผลิตภัณฑ์ใหม่
การแก้ไขชิ้นงานที่ไม่ผ่านการอนุมัติครั้งก่อน
การเปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรมของผลิตภัณฑ์
สถานการณ์อื่นที่ร้องขอโดยลูกค้า
ระดับการส่งมอบของ PPAP
ระดับที่ 3 ใบรับรองตัวอย่างผลิตภัณฑ์
ระดับที่ 4 ใบรับรองและข้อมูลสนับสนุนตามที่ลูกค้ากำหนด
ระดับที่ 2 ใบรับรองตัวอย่างผลิตภัณฑ์
ระดับที่ 5 ใบรับรอง ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ และข้อมูลสนับสนุนทั้งหมด
ระดับที่ 1 ใบรับรอง PSW
นายสมประสงค์ โคลนกระโทก B6004477