Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ
ต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ
ตั้งแต่ 24-30 เดือนขึ้นไป ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง เมื่ออายุมากขึ้นเซลล์ กล้ามเนื้อจะลดขนาดลง และกาลังกล้ามเนื้อก็จะลดลง จึงลดจานวนครั้งของการขับถ่ายอุจจาระ แต่ ในผู้สูงอายุมักจะมีปัญหา กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนยาน ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง ปัญหาการ ขับถ่ายอุจจาระจึงเกิดขนึ้ได้มากกว่าวัยอื่น
ชนิดของอาหาร
ที่รับประทาน
อาหารจาพวกพืชผัก ผลไม้ ที่ มีกากใยมาก เช่น คะน้า กระเฉด มะละกอ ลูกพรุน เป็นต้น จะช่วยทาให้อุจจาระสามารถขับเคลื่อน ได้ดีกว่าอาหารที่กากใยน้อย เนื่องจากจะช่วยเพิ่มน้าหนักอุจจาระ และช่วยทาให้อุจจาระอ่อนนุ่มด้วย
ปริมาณน้ำที่
ร่างกายได้รับ
น้ำจะเป็นตัวสาคัญที่ทำให้ อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทาให้อุจจาระอ่อนตัว และยังช่วยกระตุ้นให้มีการ เคลื่อนไหวของลาไส้ใหญ่ได้ดี ทาให้มีการถ่ายอุจจาระได้ง่ายขึ้น นอกจากการดื่มน้าสะอาดวันละ 6-8 แก้ว จะช่วยเรื่องการขับถ่ายอุจจาระเป็นไปตามปกติแล้ว น้าลูกพรุน ซึ่งมีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ น้าส้ม น้ามะนาวช่วยกระตุ้นให้ลาไส้มีการเคลื่อนไหว ขับอุจจาระได้ดีขึ้น ในกรณีที่มีอาการท้องผูก แต่ดื่มในปริมาณทมี่ากเกินไปก็ส่งผลให้เกิดอาการท้องเสียถ่ายเหลวได้เช่นกัน
การเคลื่อนไหว
ของร่างกาย
การเคลื่อนไหวของ ร่างกาย จะช่วยทาให้การทางานของลาไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ ผู้ปุวยที่ เคลื่อนไหวได้น้อย หรือถูกจากัดการเคลื่อนไหวจะทาให้การทางานของลาไส้ลดลง (ประสิทธิภาพใน การบีบตัวของลาไส้ลดลง) กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานไม่แข็งแรง ส่งผลให้มีปัญหาเรื่องการถ่ายอุจจาระ อุจจาระมักจะแข็งเป็นก้อนหรืออาจเกิดท้องผูกได้
อารมณ์
เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลง เช่น หงุดหงิด หรือวิตก กังวล เป็นต้น จะทาให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมน และการทางานของระบบประสาท Sympathetic มีการเปลี่ยนแปลง ทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มข้ึนหรือลดลงได้ อารมณ์ของบุคคลจะมีผลกระทบต่อ การทางานของลาไส้
ความสม่ำเสมอ
ในการขับถ่าย
การเปลี่ยนแปลง เก่ียวกับกิจวัตรประจาวัน การรับประทานอาหาร น้า รวมท้ังการออกกาลังกาย และการพักผ่อน อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระได้ ดังนั้นควรมีการฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา หรือ เมื่อรู้สึกอยากถ่ายให้รีบไปถ่าย หากมีการกลั้นอุจจาระไว้จะทาให้เกิดท้องผูกได้
ความเหมาะสม
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้าไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ และ ทาให้เกิดอาการท้องผูกได้ และท่าทางในการขับถ่าย (Opportunity and position) ท่านั่งจะช่วยใน การขับถ่ายได้สะดวก แต่ผู้ปุวยบางรายต้องใช้กระโถนนอน (Bed pan) ถ่ายอุจจาระบนเตียง ทาให้ท่า นอนไม่ช่วยส่งเสริมการขับอุจจาระออกได้สะดวก ทาให้ผู้ปุวยขับถ่ายอุจจาระลาบากจึงพยายามอั้นไม่ ถ่ายอุจจาระ ทาให้เกิดอาการท้องผูกในที่สุด
ยา
อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน อาหารอาจทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ เช่น ยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้า เป็นต้น จะทาให้ กระเพาะอาหารทางานน้อยลง ยา Atropine และ Morphine จะทาให้การเคลื่อนไหวของลาไส้ลดลง และการบีบตัวขับอุจจาระช้าลง ทาให้เกิดท้องผูกได้
การตั้งครรภ์
เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมด ลงก็ขยายตัวโตด้วย ทาให้จะไปเบียดกดลาไส้ส่วนปลาย ในการเบ่งถ่ายอุจจาระจึงต้องใช้แรงเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกเป็นประจา และเกิดโรคริดสีดวงทวารในหญิงตั้งครรภ์
อาการปวด
โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลาไส้ ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery) เมื่อมีอาการปวดถ่ายอุจจาระ ผู้ปุวยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทาให้อั้นอุจจาระไว้ จึงส่งผลให้เกิดอาการท้องผูก ตามมา
การผ่าตัดและ
การดมยาสลบ
การดมยาสลบ ชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิด ลดลง และขณะทาการ ผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทางานของลาไส้ทาให้เกิด ลดลงชั่วคราว เรียกว่า “Paralytic ileus” อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง หรือหลายวันในการกลับคืนสู่การทางานปกติ
การตรวจวินิจฉัยโรค
การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบ ทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทางานของลาไส้ชั่วคราว ซึ่งมีความจาเป็นต้องทาให้ลาไส้สะอาด ผู้ปุวยต้องได้รับ การงดน้าและอาหาร (NPO) หรือรับประทานอาหารเหลวใส (Clear liquid) หรือทา การสวนอุจจาระ(Enema) จนทาให้ลาไส้สะอาดก่อนการส่งตรวจเรียกว่า “การเตรียมลาไส้” (Bowel prep)
ลักษณะของอุจจาระปกติ
Type 1
Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass) ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2
Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool (ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 7
Watery, no solid pieces (entirely liquid) (ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
โดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการ
รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้า การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
อาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
(1) ฝิ่น หรือยาระงับปวดที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่นที่ส่งผลต่อแรงตึงตัวของ
กล้ามเนื้อเรียบของลาไส้ ยับยั้งการเคลื่อนไหวของลาไส้ เพิ่มแรงตึงตัวของหูรูด และลดความไวต่อการ ขยายตัวของทวารหนัก
(2) การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร จากการล่าช้าของการขับถ่ายทาให้ อุจจาระแข็ง และเกิดก้อนเนื้อของลาไส้หรือก้อนเนื้อของเชิงกราน ทาให้เกิดการอุดตัน
(3) ความผิดปกติในการทาหน้าที่ของไขสันหลัง อันเป็นผลของการไม่ เคลื่อนไหว การสูญเสียการรับความรู้สึกของทวารหนัก การลดลงของความตึงตัวของทวารหนักและ สาไส้ใหญ่
(4) ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลาไส้และเกี่ยวข้องกับ ความผิดปกติของประสาทที่ลาไส้ และการติดยาระบาย
(5) การทาหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน จากการหดรัดตัวที่ผิด ปกติของกล้ามเนื้อและหูรูดระหว่างการขับถ่าย ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะท้องผูกจากการอุดกั้นทางออก ของอุจจาระ
(6) ภาวะผิดปกติของลาไส้ มีความสัมพันธ์กับภาวะท้องผูก ซึ่งอาจเกี่ยวข้อง กับความไวต่อการกระตุ้นของอวัยวะภายในและการเคลื่อนไหวของลาไส้ผิดปกติ
ผลที่เกิดจาก
ภาวะท้องผูก
1) เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) เกิดจากอุจจาระที่แห้งแข็งกดหลอด เลือดดารอบๆ ทวารหนัก ทาให้เลือดไหลกลับไม่สะดวกเกิดโปุงพอง และแตกได้
4) แบคทีเรียในลาไส้ จะเปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร เป็นแอมโมเนีย ดูดซึมเข้า กระแสเลือดไปยังสมองในผู้ปุวยโรคตับจะเกิดอาการ Hepatic encephalopathy
5) ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็งหรือผนังลาไส้หย่อนตัวเป็นถุง สะสมอุจจาระไว้ พบในผู้ปุวยสูงอายุ หรือผู้ปุวยอัมพาต
6) การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence) เนื่องจากก้อนอุจจาระไปกดปลาย ประสาทของกล้ามเนื้อหูรูดที่ควบคุมการขับถ่ายสูญเสียหน้าที่
การพยาบาลผู้ป่วย
1) แนะนาให้ความรู้และเน้นความสาคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
2) แนะนาและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งอาหารที่มีเส้นใยและกากมาก ๆ เช่น ผักและผลไม้สด อาหารที่มีธัญพืช ถั่วต่าง ๆ ลูกพรุน เป็นต้น หลีกเลี่ยงอาหารที่รับประทานมากแล้วทาให้เกิดท้องผูกได้ เช่น เนย ไข่ เนื้อสัตว์ เป็นต้น
3) แนะนา กระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้าให้เพียงพอ ควรดื่มน้าอย่างน้อยวัน ละ 2,000–2,500 cc. ถ้าไม่มีข้อห้าม เพื่อช่วยให้เพิ่มน้านอกเซลล์ น้ามีการซึมผ่านผนังลาไส้ใหญ่ได้ มากขึ้นทาให้อุจจาระมีน้ามากช่วยให้ขับอุจจาระได้ง่ายขึ้น
4) แนะนาและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่าย อุจจาระให้เป็นเวลา การถ่ายอุจจาระเมื่อปวดถ่ายโดยไม่กลั้นหรือปล่อยทิ้งไว้ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการ ปูองกันการท้องผูก แต่เมื่อเกิดอาการท้องผูกขึ้นแล้ว ควรให้โอกาสได้ถ่ายตามเวลาที่เคยถ่ายเป็น ประจา หรือในช่วงเวลาหลังอาหารเช้า ควรแนะนาการฝึกนิสัยการขับถ่าย ให้เป็นเวลา และเป็นการ ฝึกพฤติกรรมการบีบตัวของลาไส้ให้เกิดความเคยชินใช้เวลาในการนั่งถ่ายอุจจาระครั้งละ 10 นาที เวลาที่เหมาะสมคือ ช่วงเช้าหลังตื่นนอน และ ดื่มน้าอุ่น 1–2 แก้ว หรือ 30 นาทีหลังอาหารเช้า
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
6) แนะนาให้ออกกาลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างกายจะมีผลต่อการบีบตัวของ ลาไส้ช่วยให้การถ่ายอุจจาระเป็นปกติ การบีบตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องที่แข็งแรงจะช่วยส่งเสริมการ ถ่ายอุจจาระได้ดี และการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบ ลดความตึงเครียดในระหว่างวัน
7)สังเกตความถกี่ารใช้ยาระบายหรือยาถ่ายพยายามลดการใช้จนสามารถเลิก ใช้ยาระบาย หรือใช้ในกรณีที่จาเป็นเพื่อเป็นการปูองกันไม่ให้ผู้ปุวยต้องเบ่งถ่ายอุจจาระ เพราะว่ายา ระบายมีฤทธิ์ต่างกัน เช่น น้ามันละหุ่ง (Caster oil), MOM (Milk Of Magnesia), Bisacodyl, ELP (Emulsion Of Liquid Paraffin) ยาเหน็บ (Suppositories) ใช้เหน็บทางทวารหนัก เพื่อออกฤทธิ์ กระตุ้นการถ่ายอุจจาระโดยการทาให้เกิดการระคายเคืองที่ลาไส้ใหญ่ และช่วยทาให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ส่วนการสวนอุจจาระ (Enema) เมื่อใช้ยาไม่ได้ผลจึงพิจารณาให้สวนอุจจาระ พยาบาลควรสอนการ นวดหน้าท้องเพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลาไส้ช่วยขับอุจจาระได้ดีขึ้น
8) แนะนาสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนามาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระ ใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ เช่น แกงขี้เหล็ก แกงส้มผักกระเฉด กล้วยน้าว้าสุก เป็นต้น
ภาวะท้องเสีย
(Diarrhea)
สาเหตุ
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค เช่น อาหารที่มีแมลงวันตอม เป็นต้น
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์ จนทาให้เกิดการเจ็บปุวยที่แสดง
ออกทางร่างกาย เรียกว่า “Psychosomatic disorder”
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
(Side effect) เช่น Ceftriaxone (Cef-3), Claforan, Azithromycin, Levefloxacin เป็นต้น
ผลที่เกิดจาก
ภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance) สูญเสียทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย น้าหนักลด มีอาการของภาวะการขาดน้า (Dehydration) ถ้าเป็น เรื้อรัง ทาให้เกิดภาวะขาดอาหารได้ ในกรณีที่มีอาการอุจจาระร่วง/ท้องเสียอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง ทาให้ร่างกายสูญเสียไบคาร์บอเนต (CHO 3) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง ส่งผลให้เกิดภาวะกรดเกิน (Acidosis) ในร่างกายได้
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้และการถ่าย อุจจาระหลาย ๆ ครั้ง เป็นการรบกวนการใช้ชีวิตประจาวันและการพักผ่อน
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
2) เตรียมตรวจทางรังสี
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
5) เพื่อการรักษา เช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ปรวยโรคตับ เป็นต้น
ชนิดของการ
สวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่
1) Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้าสะอาดเข้าในลาไส้ ไม่นิยมใช้ ใน ผู้ปุวยที่มีภาวะอิเล็กโตรไลต์ไม่สมดุล หรือผู้ปุวยเด็ก
2) Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้าสบู่ผสมน้า ใช้น้าสบู่ เข้มข้น 15 ml. ในน้า 1,000 ml. แต่โดยทั่วไปมักผสมกับน้าจนเป็นสีน้าซาวข้าว การสวนอุจจาระ ด้วยน้าสบู่อาจทาให้เกิด ลาไส้ใหญ่อักเสบได้ และถ้าน้าสบู่ได้รับความร้อนจะทาให้เกิดภาวะของ Methemoglobinemia ทาให้ร่างกายมีอาการเขียวคล้า อ่อนเพลีย มึนงง หายใจลาบาก ชีพจรเร็ว กว่าปกติ
3) Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้ สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ปุวยเด็ก ผู้ปุวยที่มีลาไส้อักเสบ ไม่เหมาะสมในผู้ปุวยโรคหัวใจ วาย หรือผู้ปุวยที่มีการ คั่งของเกลือโซเดียมในร่างกาย
4) Fleet enema เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ายาสาเร็จรูปคือสารละลาย Hypotonic บรรจุในขวดพลาสติก ลักษณะของขวดมีหัวสวนอยู่ในตัว และหล่อลื่นด้วยวาสลิน ให้ ผลดีหลังสวนประมาณ 5 นาที เหมาะสาหรับ การสวนอุจจาระแก่ผู้ใหญ่ และผู้ที่ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับ การคั่งของโซเดียมในร่างกาย
5) Oil enema เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ามันพืช นิยมใช้ในผู้ปุวยที่มีอุจจาระอุด ตัน ให้ผลหลังสวนประมาณ 30 นาที
Retention enema
การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลาไส้ใหญ่
1) Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ามัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้น ให้ลาไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
2) Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกาย ทางทวารหนัก เช่น Neomycin enema เป็นต้น โดยมีจุดประสงค์ เพื่อลดเชื้อแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ ก่อนผ่าตัดเกี่ยวกับลาไส้ใหญ่ หรือเป็นการสวนเพื่อการวินิจฉัยโรค เช่น การทา Barium enema โดย การใช้ Barium sulfate ผสมน้าสวนเข้าทางทวารหนักแล้วถ่ายภาพรังสีทาให้มองเห็นลักษณะ ผิดปกติของลาไส้ได้ชัดเจน เป็นต้น
ข้อคำนึงใน
การสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105 ̊F (40.5 ̊C)
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า (Sim’s position)
ให้เข่าขวา งอขึ้นมาก ๆ ถ้าผู้ปุวยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้ อาจจัดให้นอนหงาย แต่ไม่ควรให้อยู่ ในท่านั่ง
แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ปุวยควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน1ฟุตเหนือ ระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การปล่อยน้า เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้า สารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาที เพื่อให้ผู้ปุวยเก็บน้าได้หมด การปล่อย สารละลายช้า ๆ จะช่วยลดความไม่สุขสบายจากลาไส้โปุงตึง และถ้าปล่อยน้าไหลแรงเกินอาจทาให้ ผู้ปุวยปวดท้องเป็นตะคริว อาจทาให้ลาไส้แตกได้
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การ สอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย มีรูเปิด 1–2 รูปลายมนหากต้องการให้ผู้ปุวยกักเก็บสารน้าได้ดีควรใช้สายยางขนาดเล็ก เด็กโตสอดลึก ประมาณ 2–3 นิ้ว ส่วนเด็กเล็ก สอดลึกประมาณ 1–1.5 นิ้ว
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบน ปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลาไส้
ระยะเวลาที่สารน้ากักเก็บอยู่ในลาไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้าเข้าไปในลาไส้ใหญ่ จนผู้ปุวยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ปุวยหายใจทางปากยาว ๆ เพื่อผ่อนคลายและกลั้นอุจจาระต่อไป อีก 5–10 นาที หรือเท่าที่จะทนได้เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัวลง
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บ
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stoolexamination)
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝง
ในอุจจาระ เช่น ผู้ปุวยมะเร็งลาไส้ ผู้ปุวยมีพยาธิปากขอ เป็นต้น
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนาไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อ แบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
อุปกรณเ์ครื่องใช้
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
2) ใบส่งตรวจ
3) ไม้แบน สาหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษชาระ
5) หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
(1) อธิบายให้ผู้ปุวยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่ง ตรวจ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ระวังการปนเปื้อนปัสสาวะ น้า และสิ่งปนเปื้อนอื่น
(2) ให้ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง ใช้ไม้แบนเขี่ย อุจจาระจานวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที และใส่ถุงพลาสติกหุ้มอีกชั้น
(3) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(4) ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน