Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
เป็นทั้งการนำสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ออกไปและเป็นการสร้างระบบขับถ่ายที่ดีต่อร่างกายและดีต่อสุขภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
อารมณ์ (Emotion)
อายุ (Age)
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits)
ความเหมาะสม (Opportunity)
ยา (Medication)
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
อาการปวด (Pain)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน)Type
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2
Sausage shaped but lumpy(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7
Watery, no solid pieces(entirely liquid)(ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
Type 1
Separate hard lumps, like nuts(Difficult to pass)ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก(Constipation)
หมายถึง
การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมา
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
การรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อยภาวะขาดน้ำการเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
เกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยามีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลำไส้และเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของประสาทที่ลำไส้และการติดยาระบาย
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ฝิ่น
ภาวะผิดปกติของลำไส้
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
เกิดอาการแน่นท้องท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
แบคทีเรียในลำไส้
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำกระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้ำให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
แนะนำให้ออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างกายจะมีผลต่อการบีบตัวของลำไส้ช่วยให้การถ่ายอุจจาระเป็นปกติ
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
สาเหตุ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระเป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ และอาจใช้ยาระบายเพื่อทำให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่นหรือการสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
การล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้ อุจจาระจับเป็นก้อนและไม่ถูกขับออกมาตามปกติ ประมาณ 4-5 วัน หรือมีอาการท้องอืดตึง
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถุงมือสะอาด 2คู่และหน้ากากอนามัย (Mask)
2) สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลินหรือสบู่เหลว
3) ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
4)หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสำหรับใช่อุจจาระ
วิธีปฏิบัติ
1) แนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยทราบ
2) ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ ขาขวางอเล็กน้อย(Sim’s position)
3) ปูผ้ายางรองให้ผู้ป่วย และวางหม้อนอนหรือถุงพลาสติกไว้ใกล้ ๆ
4) พยาบาลสวมถุงมือ 2ชั้น แล้วใช้นิ้วชี้หล่อลื่นด้วยเจลหล่อลื่น
5) ล้วงเอาก้อนอุจจาระออกใส่ในหม้อนอนหรือถุงพลาสติกที่เตรียมไว้
6) เช็ดทำความสะอาดจัดเสื้อผ้าให้เรียบร้อย และเก็บเครื่องใช้
7) ทำความสะอาดเครื่องใช้และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
8) ลงบันทึกทางการพยาบาล
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือAbdominal distention)
สาเหตุ
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมากเกินไปหรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60องศา
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
สาเหตุจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวหรือความสามารถในการขยับตัวได้ลดลงหรือหลังการผ่าตัดไม่ยอมขยับตัวเนื่องจากมีความกลัวต่าง ๆ
สาเหตุจากได้รับยาระงับปวดที่มีอาการข้างเคียงทำให้ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
2) ผลด้านจิตใจ
เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
3) ผลด้านสังคม
เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม
1) ผลด้านร่างกาย
ทำให้มีอุจจาระไหลออกมาโดยไม่รู้ตัว
4) ผลด้านจิตวิญญาณ
ส่งผลให้ด้านจิตวิญญาณคือ ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง
การพยาบาลผู้ปุวยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
2) ด้านจิตใจสังคม และจิตวิญญาณ
สร้างเสริมกำลังใจกับผู้ปุวยให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และกล้าที่ออกสังคมอย่างมั่นใจ
ทำสมาธิและมีสติรู้อยู่เป็นปัจจุบันตลอดเวลาเอาธรรมะเป็นที่พึ่งและปล่อยวาง
1) ด้านร่างกาย
(3) ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา
(4) ดูแลเสื้อผ้าที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
(5) รักษาสุขภาพให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงการเกิดโรคหวัด
(2) การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระโดยใช้วิธีการฝึกถ่ายอุจจาระเป็นเวลาเลือกเป็นเวลาที่สะดวก
(1) ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
ภาวะท้องเสีย(Diarrhea)
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
2) จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์(Sideeffect)
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ าและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance)
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้และการถ่ายอุจจาระหลาย ๆ ครั้ง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องเสีย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วย
2) ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนครั้งค่อนข้างบ่อย
3) การดูแลเรื่องอาหาร ในระยะแรกมักให้งดอาหารและน้ำทางปาก (NPO)ให้ดื่มเฉพาะน้ำ หรือสารน้ำซึ่งสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย
4) ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
5) สังเกตความผิดปกติอื่นๆ ที่เกิดร่วมด้วย
6) สังเกตและบันทึกลักษณะอุจจาระความถี่ของการถ่ายอุจจาระ
7) ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ ให้การพยาบาลตามความจำเป็นและเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
8) การปูองกันการแพร่กระจายเชื้อ หรือการกลับซ้ำเป็นอีก
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
Colostomy
เป็นทวารหนักชนิดลำไส้ใหญ่ ลำไส้ที่นำมาเปิดออกหน้าท้องมีตำแหน่งต่างๆ
Transverse colostomy (Loop colostomy)
Sigmoid colostomy (End colostomy)
Ascending colostomy
Ileostomy
เป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก ลำไส้ที่นำมาเปิดออกจะเป็นส่วนปลายของลำไส้เล็ก (Ileum) อยู่ที่หน้าท้องส่วนล่างด้านขวา มีทั้งชนิดที่เป็นรูเปิดเดียว (End ileostomy) และ 2 รูเปิด (Loop ileostomy)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้และผิวหนังรอบๆ
ระยะที่ 2หลังผ่าตัด 7-10วัน
ระยะที่3 หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์
ระยะที่ 1หลังผ่าตัด 4-5วัน
การปิดถุงรองรับอุจจาระเมื่อทำความสะอาดStomaและผิวหนังรอบๆแล้ว
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกายและการทำงาน
การฝึกหัดการขับถ่ายโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ภาวะแทรกซ้อนสังเกตและดูแลตนเอง
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปิดลำไส้ทางหน้าท้อง
หลังผ่าตัดประมาณ 7-10วัน แผลที่บริเวณ Stoma ก็จะแห้งสนิท และระบบขับถ่ายอุจจาระก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ
สามารถประกอบกิจวัตรประจ าวันได้ตามเดิมหลังผ่าตัด 6–8เดือน
หลีกเลี่ยงกีฬาที่หักโหมรุนแรง และ ไม่ควรยกของหนัก
รับประทานอาหารได้ทุกประเภท ยกเว้นบางโรคที่ต้องควบคุมการรับประทานอาหาร
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อการรักษา
ลดปัญหาอาการท้องผูก
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่
Retention enema
การสวนเก็บเป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
อุปกรณ์เครื่องใช้
3) สารหล่อลื่น
4) ชามรูปไต
2) หัวสวนอุจจาระ
5) กระดาษชำระ
6) กระโถนนอน (Bed pan)
7) ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
8) ผ้ายางกันเปื้อน
9) สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
10) เหยือกน้ำ
11) เสาน้ำเกลือ
12) ถุงมือสะอาด1คู่ และMask
1) หม้อสวน
วิธีปฏิบัติ
จัดท่านอนให้ถูกต้องคือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า เลื่อนผู้ป่วยมาชิดขอบเตียง
ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ป่วย
คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย ลดอาการเกร็งของผู้ป่วยจากความเขินอาย
นำเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน และวิธีการปฏิบัติตัวปิดม่าน
ล้างมือ สวมถุงมือและต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น
การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วนสะดวกในการปฏิบัติ
ปิด Clampหัวสวนไว้เทน้ำยาใส่หม้อสวนแขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ป่วย 1ฟุต
บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการสวนอุจจาระ
ค่อยๆ ดึงสายสวนออกเบาๆปลดหัวสวนออก
ลงบันทึกทางการพยาบาล
สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ3นิ้ว
เปิด Clampเพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวนปิด Clamp หัวสวน
เก็บเครื่องใช้ท าความสะอาดให้เรียบร้อยถอดถุงมือล้างมือให้สะอาด
จับหัวสวนให้แน่กระชับมือเปิด Clamp ให้น้ำไหลช้าๆ
สอดBed panกั้นม่านให้มิดชิด
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
3) ท่านอนของผู้ป่วยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
5) การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ำไหลช้าๆ
1) อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊ F (40.5 ̊C)
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ
7) การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
8) ทิศทางการสอดหัวสวน
9) ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
10) การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
2) ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
4) การติดเชื้อ
1) การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
5) การคั่งของโซเดียม
6) ภาวะ Methemoglobinemia
3)ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Waterintoxication)
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
2) มีการอักเสบของลำไส้
3) มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
1) ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
4) ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย(Post rectal surgery)
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)ตรวจในรายที่สงสัยว่ามีเลือดแฝงในอุจจาระ
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ(Stool culture)เพื่อนำไปเพาะเชื้อเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ(Fecal examination หรือStool examination)
อุปกรณ์เครื่องใช้
2) ใบส่งตรวจ
3) ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
4) กระดาษชำระ
5) หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้งใช้ไม้แบนเขี่ยอุจจาระจำนวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที และใส่ถุงพลาสติกหุ้มอีกชั้น
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาลลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การวางแผน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
4.การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)