Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 3 การพยาบาลมารดาทารกหลังคลอด - Coggle Diagram
สถานการณ์ที่ 3 การพยาบาลมารดาทารกหลังคลอด
แรกรับหลังคลอด
45 นาทีหลังคลอด
พยาบาลนำทารกดูดนม
การกระตุ้นการดูดนม
ดูดถูกวิธี
ให้ทารกดูดนมโดยให้อ้าปากกว้าง ขณะดูดเห็นลานนมล่างมากกว่าลานนมบน คางชิดอกมารดา
ดูดบ่อย
ใหทารกดูดนมประมาณวันละ 8 - 12 ครั้ง หรือตามต้องการ
ดูดเกลี้ยงเต้า
ให้ทารกดูดนมจนเกลี้ยงเต้า หากในครั้งนั้นไม่เกลี้ยงเต้า ครั้งถัดไปให้ดูดข้างเดิมจนเกลี้ยง เพื่อกระตุ้นการหลั่งของน้ำนม
ดูดเร็ว
คลอดออกมาใน 15 - 30 นาที
ควรให้ทารกดูดนมทันที หลังจากนั้นให้ดูดทุก 2 ชั่วโมง
ฺBT 38 องศาเซลเซียส
reactionory fever
การพยาบาล
1.ประเมิน V/S ทุก 4 hr. ถ้า BT สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส มี sign ของการติดเชื้อ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เพื่อติดตามภาวะแทรกซ้อน
3.สังเกตแผลฝีเย็บและเลือที่ออกจากช่องคลอด
4.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ดูแลความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์
ปวดแผลฝีเย็บ
Pain score 7 คะแนน
การพยาบาล
ไม่ใช่ยา
แนะนำให้มารดาลดแรงกดที่ฝีเย็บ โดยท่านั่งควรนั่งลงแก้มก้นด้านใดด้านหนึ่งหรือนั่งพับเพียบ
มารดาหลังคลอดควรหาห่วงยางเล็กๆหรือหมอนโดนัทรองนั่ง เพื่อไม่ให้แผลฝีเย็บถูกกดทับ
ประคบเย็นบริเวณฝีเย็บ ใน 24 ชั่วโมงแรก ที่อุณหภูมิ 10- 12 องศาเซลเซียส ประคบนาน 15 นาที
ฝึกการหายใจ
การนั่งแช่น้ำอุ่น โดยนั่งแช่น้ำอุ่นวันละ 2 ครั้งๆละ 10-20 นาทีเพื่อให้เลือดไหลเวียนได้ดี ควรทำหลังคลอด 3 วัน
ใช้โคมไฟแสงอินฟาเรด ส่องที่แผลฝีเย็บโดยตรง ระยะห่าง 1 ฟุตครึ่ง อบนาน 15 นาที
แนะนำให้ทำ kegel exercise โดยการขมิบช่องคลอด เพื่อช่วยส่งเสริมการหายของแผล
นอนตะแคงเพื่อลดการกดทับแผลฝีเย็บ
ใช้ยา
ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด Paracetamol เพื่อช่วยลดอาการปวดแผลฝีเย็บ
REEDA scale 2
1) Redness: R ดูแผลแดง สีแผล
2) Edema: E ดูว่าแผลบวมหรือไม่
3) Ecchymosis: E ดูว่าแผลมีมีจ้ำเลือดหรือไม่
4) Discharge or Drainage: D ดูว่าแผลแห้งดีหรือมีสารคัดหลั่ง เหรือไม่
5) Approximation: A ดูว่าขอบแผลเรียบชิดหันหรือไม่ ดูว่าแผลแยกลึกถึงก้นแผลหรือไม่
การพยาบาล
1.การเช็ดทำความสะอาดแผลฝีเย็บ
2.ประคบเพื่อลดอาการปวดบวมบริเวณฝีเย็บ
3.นอนตะแคงเพื่อลดการกดทับแผลฝีเย็บ
4.หลีกเลี่ยงการนั่งขัดสมาธิ เพื่อลดการดึงรั้ง
5.มารดาหลังคลอดควรหาห่วงยางเล็กๆหรือหมอนโดนัทรองนั่ง เพื่อไม่ให้แผลฝีเย็บถูกกดทับ
พบลอนนิ่มระดับสะดือหลังคลอดยังไม่ถ่ายปัสสาวะ
ผิดปกติ ควรปัสสาวะเองหลังคลอด 6-8 ชม.
คลำพบก้อนเเข็งระดับสะดือหรือต่ำกว่าสะดือ
การพยาบาล
1.ตรวจระดับความสูงของยอดมดลูก
2.กระตุ้นให้มารดาถ่ายปัสสาวะ
3.ให้ดื่มน้ำ 2-3แก้ว
4.นวดคลึงมดลูก เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวได้ดี
6 สัปดาห์หลังคลอด
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สลับกับนมผสม
บางครั้งลูกไม่ดูดนม สะบัดหน้าหนี
1.ประเมินลักษณะทั่วไปและความต้องการของมารดาและทารก
2.ให้ความรู้ความเข้าใจความเสี่ยงของการให้อาหารชนิดอื่นที่ไม่ใช่นมแม่
กำหนดแนวทางปฏิบัติ การช่วยเหลือเพื่ให้ได้การช่วยเหลือได้
4.สอนอธิบายในการจัดท่าให้นมทารก
5.จัดให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกันตลอด 24 ชั่วโมง แนะนำให้มารดาให้ทารกดูดนมบ่อยตามต้องการ วันละประมาณ 8 - 12 ครั้ง ทุก 2-3 ชั่วโมง
การแก้ปัญหาทารกสับสนหัวนม
1.งดขวดนม จุกนมยาง จุกนมหลอก
2.ป้อนนมด้วยวิธีอื่นเช่น แก้ว ช้อน หลอด
3.ปั้มหรือกระตุ้นให้นมพุ่งก่อนให้ลูกดูด
เช็คดูว่าลูกกินถูกวิธีหรือไม่
3 วันหลังคลอด
ทารกมีนัยต์ตา สีผิวบริเวณใบหน้าและหน้าอกมีสีเหลือง
ภาวะตัวเหลืองจาก physiology เนื่องจากทารกได้รับนมมารดาไม่เพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการตัวเหลืองของทารก
เพื่อประเมินความรุนแรงและเพื่อหาสาเหตุของอาการตัวเหลือง
2.จัดให้ทารกดูดนมแม่โดยเร็ว ดูดบ่อย
และดูดอย่างถูกวิธี เพื่อเป็นการขับบิลิรูบินออกจากลำไส้
3.แนะนำไม่ให้ทารกดูดน้ำเปล่าหรือกลูโคสเพราะ
จะทำให้ดูดนมแม่น้อยลงและไม่ช่วยให้ระดับบิลิรูบินลดลง
4.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการรักษา
มีตุ่มบริเวณหัวนมข้างขวา มีรอยแตกและมีเลือดซึม
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายสาเหตุที่ทำให้หัวนมแตก
2.สอนและช่วยจัดท่าอุ้มให้ลูกดูดนม
3.หลีกเลี่ยงการดูดนมข้างที่เป็นแผล
4.แนะนำให้บีบน้ำนมออกก่อนเพื่อช่วยใหลานนมนิ่ม
ติดตามและฝึกมารดา จนสามารถให้นมบุตรได้ถูกวิธี
รู้สึกหนักเต้านม คลำได้ก้อนรู้สึกร้อนบริเวณเต้านมข้างขวา
1.อธิบายสาเหตุที่ทำให้หัวนมแตก
2.ดูแลให้ยาแก้ปวด paracetamol
3.ดูแลให้ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่นประคบเต้านมพร้อมกับนวด
4.ดูแลบีบนมออกจากเต้านมด้วยมือจนบานนมนิ่ม
5.ให้ลูกดูดนม ทุก 1-2 ชม. อย่างน้อย 15-20 นาที
2 วันหลังคลอด
คลำพบมดลูกแข็ง ต่ำกว่าระดับสะดือ 1 นิ้ว
ระดับยอดมดลูกลดลงประมาณวันละ 0.5 - 1 นิ้วฟุต/วัน
น้ำคาวปลาควรมีสีแดงจางๆ จะค่อยๆหมดไปใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
วันที่ 1-3 Lochia rubra มีสีแดงสด
วันที่ 4-9 Lochia serosa จะปริมาณน้อยลง มีสีแดงจางลงเป็นสีน้ำตาล
วันที่ 10 Lochia alba สีขาวนวล
ดูดนมข้างซ้ายจะมีน้ำนมไหลออกจากเต้านมข้างขวา และมีอาการปวดมดลูกขณะทารกดูดนม
เมื่อทารกดูดนม จะเกิดการกระตุ้นให้หลั่ง oxytocin หรือ let - down reflex
มดลูกมีการหดรัดตัว และเส้นเลือดมีการหดรัดตัว ทำให้เวลาทารกดูดนม มารดาจะปวดมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้แม่ทราบว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ปกติ
แนะนำให้มารดาให้ทารกดูดนมบ่อย ๆ ทุก 2-3 ชม. เพื่อกระตุ้นให้น้ำนมไหลเพิ่มขึ้น
แนะนำให้การดูดนมที่ถูกวิธีให้แกมารดา มี 4 วิธี ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ดูดเกลี้ยงเต้า
แนะนำให้มารดาทานน้ำเยอะๆ และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
เพื่อช่วยในการสร้างน้ำนม เช่น แกงเลียง แกงจืด ก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น
น้ำนมมีสีเหลือง
คำแนะนำ
อธิบายให้มารดาทราบถึงประโยชน์ของน้ำนมสีเหลืองว่ามีสารประกอบของโปรตีนและ immunoglobulin ช่วยป้องกันภาวะติดเชื้อ ช่วยขับถ่ายขี้เทา และป้องกันภาวะตัวเหลือง
มารดามีสีหน้ากังวล หงุดหงิดง่าย บางครั้งร้องไห้คนเดียว ไม่กล้าจับลูก กลัวลูกจมน้ำ
postpartum blues
กิจกรรมการพยาบาล
1.การประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอดเพื่อลดและป้องกันภาวะซึมเศร้าของมารดาหลังคลอดได้อย่างทันการณ์
2.เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึกเพื่อให้มารดาได้ระบายความอึดอัด
3.ช่วยดูแลทารกเมื่อมารดายังไม่พร้อมในการดูแลบุตรหรือพบว่ามีอารมณ์เศร้า
4.จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้มารดาที่เคยซึมเศร้าหลังคลอดมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์
5.แนะนำแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือในการดูแลตนเองและบุตร เพื่อให้มารดาได้รับการช่วยเหลืออย่างเพียงพอ
การปรับตัวด้านจิตสังคม
1.Taking in phase เป็นระยะเริ่มเข้าสู่บทบาทการเป็นแม่ หรือระยะพึ่งพา 1-2 วันแรก
Taking hold phase ระยะเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดาหรือระยะกึ่งพึ่งพา ระยะนี้เริ่มตั้งแต่ 3-10 วันหลังคลอด
Letting go phase ระยะที่แสดงบทบาทได้ดีหรือระยะพึ่งพาตนเอง ระยะนี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 หลังคลอด