Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์
ความหมาย
ภาวะที่มีความดันซีสโตลิค (Systolic) 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 30 มิลลิเมตรปรอทและความดันไดแอสโตลิค (Diastolic) 90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 15 มิลลิเมตรปรอทจากการวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงภายหลังผู้ถูกวัดอยู่ในสภาวะพักผ่อนบนเตียง (Absolute bed rest) แล้ว
Severe preeclampsia
อาการและสิ่งตรวจพบ
จำนวนปัสสาวะน้อยกว่า 400 ลูกบาศก์เซนติเมตรใน 24 ชั่วโมง
มีโปรตีนในปัสสาวะประมาณ 5 กรัม / ลิตรหรือมากกว่าหรือ 3-4 บวกในปัสสาวะที่เก็บ 24 ชั่วโมง
อาการปวดบริเวณลิ้นปี่ (Epigastric pain)
มีภาวะน้ำคั่งในปอด
อาการตาพร่ามัวมองไม่ชัดเห็นภาพซ้อนหรือปวดศีรษะมาก
ความดันโลหิตสูงค่า (Diastolic) 110 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่าค่า(Systolic) 160 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่าโดยวัด 2 ครั้งห่างกัน 6 ชั่วโมงและวัดในขณะที่สตรีตั้งครรภ์ได้นอนพัก
Preeclampsia with severe features
Thrombocytopenia
การเพิ่มขึ้นของค่า liver transaminase เป็น 2 เท่าของค่าปกติ หรือ มี
อาการปวดบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือใต้ลิ้นปี่อย่างรุนแรง
BP ≥ 160/110 mmHg
Pulmonary edema
อาการทางสมองหรือตา ที่เกิดขึ้นใหม่ (new-onset)
เฮลล์ซินโดรม (HELLP syndrome) เป็น Severe preeclampsia ชนิดที่มีความผิดปกติห
สาเหตุและพยาธิสภาพ
การขาดเลือดของรกซึ่งพบการเพิ่มของ trophoblast deportation
ความผิดปกติของพันธุกรรมเนื่องจากความต้านทานที่ผิดปกติของภูมิคุ้มกันของสตรีตั้งครรภ์ที่มีต่อเนื้อรก รวมถึงทารกในครรภ์
ด้านพันธุกรรมโดยพบว่าโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์จะเพิ่มขึ้นหากสตรีตั้งครรภ์มีประวัติของญาติสายตรงที่เคยเกิดภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อน
ความผิดปกติของการฝังตัวของรกเนื่องจากในช่วงไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์การรุกล้ำของเซลล์ cytotrophoblast เข้าไปในเส้นเลือดแดง spiral จะเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์ส่งผลให้เส้นเลือดแดง spiral ไม่ขยายตัวหรือขยายตัวได้น้อยกว่าปกติขาดความยืดหยุ่นและมีแรงต้านทานในเส้นเลือดสูงมากกว่าการตั้งครรภ์ปกติ
ภาวะแทรกซ้อนต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ภาวะแทรกซ้อนต่อสตรีตั้งครรภ์
1 อันตรายจากภาวะชักเกิดการบาดเจ็บ ได้แก่ ตกเตียงฟาดถูกของแข็ง หรือกัดลิ้น ที่เป็นอันตรายมากอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เสียชีวิต
2.น้ำคั่งในปอด พบมากในภาวะ Eclampsia ร้อยละ 70 และภาวะ Severe preeclampsia ร้อยละ 30 เนื่องจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำและอาหารจากกระเพาะอาหารเข้าสู่หลอดลมขณะเกิดอาการชัก
3.ตับ มักพบภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ได้แก่ ตับแตกจากภาวะ Subcapsular hematoma และ HELLP syndrome
4.การคลอดก่อนกำหนดพบมากกว่าร้อยละ 50 ปัจจัยที่ทำให้สตรีตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงมีภาวะเครียดภายหลังที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์
5.รกลอกตัวก่อนคลอดถ้ามีความดันโลหิตสูงรุนแรงมีโอกาสเกิดรกลอกตัวก่อนคลอดมากและพบมากที่สุดในรายที่มีภาวะ Eclampsia พบร้อยละ 9-20 มีผลทำให้เสียเลือดและเกิดการช็อกได้
6.การแท้งบุตรโดยเฉพาะก่อนอายุครรภ์ 28 สัปดาห์และมีความดันโลหิตสูงชนิดรุนแรงอาจเกิดจากความจำเป็นที่ต้องยุติการตั้งครรภ์หรือความรุนแรงของโรคทำให้เกิดการแท้งบุตร
.
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์ภาวะความดันโลหิตสูง
2.ทารกเจริญเติบโตช้า (Intrauterin Growth Restriction : IUGR) เป็นผลสืบเนื่องจากพยาธิสภาพของหลอดเลือดบริเวณที่มีการเปลี่ยนอาหารของรก (Uteroplacenta) ทำให้ทารกในครรภ์ได้รับอาหารไม่เพียงพอ ทารกที่เป็น IUGR มักมีความเจ็บป่วยหลังเกิด
3.ทารกเสียชีวิตในระยะแรกเกิดเนื่องจากภาวะของทารกในครรภ์ที่ได้รับออกซิเจนและอาหารไม่เพียงพอทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและความผิดปกติ
1.ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน (Fetal hypoxemia and distress) การขาดออกซิเจน อาจเกิดเนื่องมาจากภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในมารดา
4.ทารกเสียชีวิตในครรภ์เฉียบพลันมักพบในสตรีตั้งครรภ์ที่ควบคุมอาการไม่ได้โดยเฉพาะรายที่มีภาวะชักหรือความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
5.คลอดก่อนกำหนดโดยพยาธิสภาพของความดันโลหิตสูงทำให้เกิดการลอกตัวของรกก่อนกำหนดหรือต้องยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษาทำให้มีการคลอดทารกที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบทางเดินหายใจและการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด
การคัดกรองสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
ครรภ์แรก , ครรภ์แฝด
มีประวัติการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ในมารดาพี่น้องร่วมสายโลหิต
เคยมีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ในครรภ์ก่อน
สตรีตั้งครรภ์มีอายุน้อยกว่า 20 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
มีประวัติความดันโลหิตสูงโรคไต autoimmune เป็นเบาหวาน
การคัดกรองจากการวัดความดันโลหิตการชั่งน้ำหนักปัสสาวะและการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
การนำน้ำหนักส่วนสูงมาคำนวณค่าดัชนีมวลกาย มี BMI> 35 kg / m
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงถึง 2 เท่าของสตรีตั้งครรภ์ที่มี BMI ปกติ
การวัดความดันโลหิตควรให้สตรีตั้งครรภ์อยู่ในท่านั่งหรือท่านอนตะแคงใช้หมอนหนุนบริเวณหลัง
การตรวจและบันทึกผลการตรวจหาโปรตีนในปัสสาวะและการตรวจอาการบวมที่บริเวณหน้าขาแขนมือใบหน้าร่วมกับการประเมินน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นแต่ละสัปดาห์เมื่อพบสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงกิจกรรมที่ควรปฏิบัติในคลินิกฝากครรภ์
การดูแลรักษา
Impending eclampsia และ Eclampsia
การดูแล
ให้นอนราบหรือศีรษะต่ำตะแคงศีรษะด้านข้างเพื่อป้องกันการสำลัก
ใช้ที่กดลิ้นหรือด้ามช้อนพันผ้าหรือ Mouth gag ใส่ไว้ระหว่างฟันกรามเพื่อป้องกันการกัดลิ้นระหว่างที่มีอาการชัก
แก้ไขภาวะความเป็นกรดซึ่งพบว่ามีเกือบทุกรายที่ชักหมดสติโดยให้โซเดียมไบคาร์บอเนท (
สวนปัสสาวะและคอยบันทึกจำนวนปริมาณปัสสาวะที่ออกคอยตรวจสัญญาณระบบประสาท เช่นระดับความรู้สึกตัวขนาดรูม่านตา, รีเฟล็กซ์,
การระงับอาการชักและป้องกันการชัก โดยทั่วไปผู้ที่เป็น Eclampsia จะชักหมดสติในช่วงเวลาเพียง 1-2 นาทีเท่านั้นดังนั้นการดูแลเบื้องต้นในกรณีที่ชักจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญมาก
การดูแลหลังคลอด
ผู้ที่เป็น Severe preeclampsia ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดในห้องคลอด 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
ให้ยาป้องกันการชักเช่นเดียวกับในระยะก่อนคลอดโดยทั่วไปมักนิยมให้ Magnesium sulfate ต่อภายหลังจากคลอดแล้วอีก 24 ชั่วโมง
Severe preeclampsia
การดูแลทั่วไป
รับไว้ในห้องคลอดที่มีการดูแลอย่างใกล้ชิด
ตรวจวัดความดันโลหิตชีพจรการหายใจทุก 15-30 นาที รีเฟล็กซ์ทุก 30-60 นาทีวัดปริมาณสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกายทุก 1-2 ชั่วโมง (โดยการใส่สายสวนปัสสาวะไว้)
การป้องกันการชัก
ให้ยาป้องกันการชักโดยให้แมกนีเซียมซัลเฟท (Magnesium sulfate) ขนาด loading dose
วิธีให้ที่นิยมคือฉีด 4-6 กรัมเข้าเส้นเลือดดำช้าๆใน 15-20 นาที (ใช้ Magnesium sulfate 10% จำนวน 40-60 มิลลิลิตร) ตามด้วย maintenance dose ฉีดเข้าเส้นเลือด 2 กรัมต่อชั่วโมง
ผลข้างเคียงของยา
Magnesium sulfate เช่นรู้สึกร้อนเหงื่อออกอาการหน้าแดงซึ่งเกิดจากมี peripheral vasodilatation และความดันโลหิตที่ต่ำลงอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนปวดศีรษะกล้ามเนื้ออ่อนแรงสายตาพร่ามัวหรือใจสั่นได้
ให้ยาลดความดันโลหิต
หลังฉีดวัดยังไม่ลดลงตามที่ต้องการก็ฉีด Nepresol ซ้ำทุก 20 15 นาที
นิยมใช้ในปัจจุบันคือพวกขยายเส้นเลือดโดยตรง (Direct vasodilator) ได้แก่ ไฮดราลาซีน (Hydralazine (apresoline) หรือ Dihydralazin (nepresol) สำหรับวิธีใช้คือฉีดเนปพรีซอล (Nepresol) 5 มิลลิกรัมเข้าเส้นเลือดดำ
การให้ยาขับปัสสาวะ
ได้แก่ ภาวะปัสสาวะน้อย (Oliguria) ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 มิลลิลิตรใน 4 ชั่วโมงมีอาการบวมมากหรือมีภาวะปอดบวมเป็นต้นยาที่นิยมใช้ ได้แก่ ฟูโรซีมายด์ (Furosemide หรือ lasix) 20-40 มิลลิกรัมฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
Severe preeclampsia ถ้าอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์แล้วก็พิจารณาให้คลอดเลย แต่ในกรณีที่อายุครรภ์ต่ำกว่า 37 สัปดาห์เมื่อได้พักให้ Magnesium sulfate
การดูแลหลังคลอด
ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดในห้องคลอด 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
พิจารณาให้ยาป้องกันการชักเช่นเดียวกับในระยะก่อนคลอดโดยทั่วไปมักนิยมให้ Magnesium sulfate ต่อภายหลังจากคลอดแล้วอีก 24 ชั่วโมง
การติดตามหลังคลอดควรนัดมาตรวจหลังคลอด 2 สัปดาห์และ 6 สัปดาห์เพื่อตรวจวัดความดันโลหิตตรวจโปรตีนในปัสสาวะตลอดจนแนะนำวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมต่อไป