Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
โดยทั่วไปความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระมักเกิดขึ้นเมื่อตื่นนอนหรือหลังมื้ออาหาร
การตื่นนอนและการลุกขึ้นเดินทำให้ลำไส้มีการเคลื่อนตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
การรับประทานอาหารทำให้เกิดปฏิกิริยารีเฟล็กซ์กระเพาะอาหารถึงลำไส้ใหญ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
Type 1 Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass)
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2 Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 3 Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ)
Type 4 Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5 Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6 Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 7 Watery, no solid pieces (entirely liquid)
(ลักษณะเป็นน้ำไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
อายุ (Age)
ในเด็กเล็ก
ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุตั้งแต่ 24-30 เดือนขึ้นไป ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง
ผู้สูงอายุ
มักจะมีปัญหา กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนยาน ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระจึงเกิดขึ้นได้มากกว่าวัยอื่น
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
อาหารจำพวกพืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมาก เช่น คะน้า กระเฉด มะละกอ ลูกพรุน
จะช่วยทำให้อุจจาระสามารถขับเคลื่อน
ได้ดีกว่าอาหารที่กากใยน้อย
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
น้ าจะเป็นตัวส าคัญที่ทำให้
อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทำให้อุจจาระอ่อนตัว
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
อารมณ์ (Emotion)
ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ อารมณ์ของบุคคลจะมีผลกระทบต่อการทำงานของลำไส้
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระได้ ดังนั้นควรมีการฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา หรือเมื่อรู้สึกอยากถ่ายให้รีบไปถ่าย หากมีการกลั้นอุจจาระไว้จะท าให้เกิดท้องผูกได
ความเหมาะสม (Opportunity)
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย
สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้ำไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ
ยา (Medication)
อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน
อาหารอาจทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได
การตั้งครรภ์(Pregnancy)
ในการเบ่งถ่ายอุจจาระจึงต้องใช้แรงเพิ่มขึ้นส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกเป็นประจำ และเกิดโรคริดสีดวงทวารในหญิงตั้งครรภ์
อาการปวด (Pain) โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
อาการปวดถ่ายอุจจาระผู้ป่วยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทำให้อั้นอุจจาระไว้ จึงส่งผลให้เกิดอาการท้องผูก
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
เป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง และขณะทำการ
ผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลำไส้ทำให้เกิด Peristalsis ลดลงชั่วคราว
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบ
ทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทำงานของลำไส้ชั่วคราว
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาลำบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิโดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้ำ การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
2) ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิอาจเกิดจากความเจ็บป่วยหรือการรักษาด้วยยา
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
1) ช่วยย่อยอาหารเพียงเล็กน้อย
2) ดูดซึมน้ำและอิเล็คโตรไลท์จากอาหาร
ที่ถูกย่อยแล้ว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
เป็นอาการที่สืบเนื่องจากท้องผูก เป็นการสะสมของอุจจาระที่แห้งแข็งในลำไส้ตรงและน้ำถูกดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกายเรื่อย ๆ อุจจาระยิ่งแห้งแข็งมาก และอัดกันแน่นเป็นก้อนทำให้ถ่ายออกไม่ได้อุดตันที่ส่วนล่างของลำไส้ใหญ่
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในลำไส้ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ทำให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางร่างกาย มักเกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนัก
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
ภาวะท้องเสีย หรืออุจจาระร่วง หมายถึง การเพิ่มจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระเป็นน้ำเหลว หรือมีมูกปน โดยถือว่าถ่ายเป็นน้ำเหลว 3 ครั้งในเวลา 12 ชั่วโมง
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การผ่าตัดเอาลำไส้มาเปิดออกทางหน้าท้อง เพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ มักทำในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ลำไส้
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจาจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ข้อควรคำนึงในการสวนอุจจาระ
1) อุณหภูมิของสารน้ำ อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
5) การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาทีเพื่อให้ผู้ป่วยเก็บน้ำได้หมด
3) ท่านอนของผู้ป่วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)
ให้เข่าขวา งอขึ้นมากๆ ถ้าผู้ปุวยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้อาจจัดให้นอนหงาย
4) แรงดันของสารน้ าที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย
7) การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
8) ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
9) ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้ำเข้าไปในลำไส้ใหญ่จนผู้ป่วยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ป่วยหายใจทางปากยาว ๆ เพื่อผ่อนคลาย
10) การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ จากสาเหตุที่ผู้ป่วยเบ่ง ควรบอกให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจเข้ายาว ๆ
การสวนอุจจาระ
การสวนอุจจาระ (Enema) เป็นกิจกรรมทางการพยาบาลซึ่งเป็นบทบาทกึ่งอิสระ ที่มีการใส่สารอาจจะเป็นน้ำ น้ำมัน หรือสารเคมีเข้าไปในลำไส้ใหญ่ส่วนล่างโดยผ่านทางทวารหนัก
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้น
ให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ โดยการทำให้เกิดการระคายเคืองของ Colon หรือ Rectum
Retention enema
การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่
ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
เป็นการตรวจสุขภาพพื้นฐานการตรวจหนึ่ง หรือการวินิจฉัยโรค
เบื้องต้นของโรคระบบทางเดินอาหาร
การตรวจอุจจาระ เป็นการตรวจที่ง่าย ขั้นตอนการตรวจไม่
ยุ่งยากไม่เจ็บตัว ไม่ต้องใช้เทคโนโลยีสูง การตรวจลักษณะอุจจาระด้วยตาเปล่า
การตรวจด้วย
กล้องจุลทรรศน์ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ