Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
บทที่ 10
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
10.1 ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
10.2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
10.2.6 ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
10.2.7 ความเหมาะสม (Opportunity)
10.2. 5 อารมณ์ (Emotion)
10.2.9 ยา (Medication)
10.2.4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
10.2.10 การตั้งครรภ์(Pregnancy)
10.2.3 ปริมาณน้ าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
10.2.11 อาการปวด (Pain)
10.2.2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
10.2.12 การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
10.2.1 อายุ (Age)
10.2.13 การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
10.3 ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type (ชนิด)
Type 4 Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5 Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 3 Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 6 Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2 Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7 Watery, no solid pieces (entirely liquid)
(ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
Type 1 Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass)
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
10.4 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
10.4.1 ภาวะท้องผูก (Constipation) การถ่ายอุจจาระน้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง หรือไม่ถ่ายอุจจาระติดต่อกัน 3 วัน จึงถือว่าเกิด “ภาวะท้องผูก”
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
4) แนะน าและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
3) แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
6) แนะนำให้ออกกำลังกาย
2) แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
7) สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
1) แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
8) แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระ
10.4.2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
10.4.2.1 สาเหตุ อาการเริ่มแรก คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระเป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
10.4.2.2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ และอาจใช้ยาระบายเพื่อท าให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
10.4.3 ภาวะท้องอืด
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในลำไส้
10.4.3.2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
2) อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
3) ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
1) จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
10.4.4 การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ทำให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย
10.4.4.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
2) ด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ควรให้กำลังใจ และสร้างเสริมกำลังใจกับผู้ป่วย
1) ด้านร่างกาย
(3) ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา
(4) ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
(2) การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระโดยใช้วิธีการฝึกถ่ายอุจจาระเป็นเวลา
(5) รักษาสุขภาพให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงการเกิดโรคหวัด
(1) ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
10.4.5 ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
10.4.5.1 สาเหตุของภาวะท้องเสีย
2) จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์ จนท าให้เกิดการเจ็บปุวยที่แสดงออกทางร่างกาย เรียกว่า “Psychosomatic disorder”
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค เช่น อาหารที่มีแมลงวันตอม เป็นต้น
10.4.5.3 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องเสีย
4) ติดตาม เฝูาระวัง ปูองกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ าและเกลือแร่
5) สังเกตความผิดปกติอื่น ๆ ที่เกิดร่วมด้วย พร้อมทั้งสังเกตประเมินอาการ
3) การดูแลเรื่องอาหาร
6) สังเกตและบันทึกลักษณะอุจจาระ
2) ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนครั้งค่อนข้างบ่อย
7) ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
1) ประเมินสภาพผู้ป่วย
8) การปูองกันการแพร่กระจายเชื้อ หรือการกลับซ้ำ เป็นอีก
10.4.6 การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
10.4.6.1 การพยาบาลผู้ปุวยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
3) การรับประทานอาหารที่เหมาะสม ผู้ปุวยต้องปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารควรทราบถึงการเลือกชนิดของอาหารที่มีผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ
4) การออกกำลังกายและการทำงาน
2) การปิดถุงรองรับอุจจาระ
5) การฝึกหัดการขับถ่าย โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ต้องหัดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง
1) การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้ และผิวหนังรอบ ๆ แบ่งเป็น 3 ระยะ
6) ภาวะแทรกซ้อน สังเกตและดูแลตนเอง
10.5 การสวนอุจจาระ
10.5.2 ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
10.5.2.2 Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่
ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml
10.5.2.1 Cleansing enema เป็นการสวนน้ าหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่
10.7 การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
10.7.1 ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
10.7.2 อุปกรณ์เครื่องใช้
3) ไม้แบน ส าหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษชำระ
2) ใบส่งตรวจ
5) หม้อนอน
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
10.7.3 วิธีปฏิบัติ
2) การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
1) การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง
10.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
10.6 ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
7) การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly
5) การปล่อยน้ า เปิด Clamp ให้น้ าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
8) ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้ว
4) แรงดันของสารน้ าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุต
9) ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
3) ท่านอนของผู้ป่วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ
10) การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
1) อุณหภูมิของสารน้ำ อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)