Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ, Ex:หญิงไทยรายหนึ่ง อายุ 35ปี…
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระมักเกิดขึ้นเมื่อตื่นนอนหรือหลังมื้ออาหาร
การขับถ่ายอุจจาระถือได้ว่าเป็นทั้งการนำสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ออกไปและเป็นการสร้างระบบขับถ่ายที่ดีต่อร่างกาย
อุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้ำประมาณร้อยละ70-80 ส่วนที่เป็นของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะของอุจจาระ
Type 4
ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม
Type 5
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน
Type 3
ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ
Type 6
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ
Type 2
ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน
Type 7
ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน
Type 1
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
สาเหตุของอุจจาระ
ลักษณะ
ปกติอ่อนนุ่ม
ผิดปกติเหลว
ท้องเสีย
ผิดปกติแข็ง
ท้องผูก
ความถี่
เด็ก:ปกติ (นมมารดา)วันละ4-6ครั้ง
ผิดปกติมากกว่าวันละ6ครั้งหรือ 1-2วัน ครั้งเดียว
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
ผู้ใหญ่:ปกติ วันละ 2ครั้งหรือ สัปดาห์ละ3 ครั้ง
ผิดปกติมากกว่าวันละ 3ครั้งหรือ สัปดาห์ละครั้ง
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
กลิ่น
จากอาหารตกค้าง
กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
การติดเชื้อจากเลือดในอุจจาระ
รูปร่าง
ปกติเท่ากับขนาดความกว้างของลำไส้ตรง
ผิดปกติขนาดเล็กคล้ายดินสอ
มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมีการบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
สี
เด็ก:ปกติสีเหลือง
ผิดปกติขาว หรือคล้ายดินเหนียว
ไม่มีน้ำดี
ผู้ใหญ่:ปกติสีน้ำตาล
ผืดปกติแดง
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร มีริดสีดวงทวาร
ผิดปกติซีด และเป็นมันเยิ้ม
พร่องหน้าที่การดูดซึมของไขมัน
ผิดปกติดำ (Melena)
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
อื่นๆ
ปกติ อาหารไม่ย่อย
ผิดปกติ มีเลือด มีหนอง
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
อุจจาระเป็นน้ำมันเยิ้ม
กลุ่มอาการพร่องการดูดซึม,
เป็นมูก
มีการระคายเคืองของลำไส้
การสวนอุจจาระ
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
Normal saline solution enema(NSSenema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย0.9 % NSSนิยมใช้ ในผู้ป่วยเด็ก
Fleet enemaเป็นการสวนอุจจาระโดยน้ำยาสำเร็จรูป
Soap sud enema(SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำสบู่ผสมน้ำ
Oil enemaเป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำมันพืช
Tap water enema (TWE)เป็นการสวนเอาน้ำสะอาดเข้าในสำไส้
Retention enema
Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ำมัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว
Medicated enemaเป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกายทางทวารหนัก
อุปกรณ์
หม้อสวน, หัวสวนอุจจาระ, สารหล่อลื่น , ชามรูปไต, กระดาษชำระ, กระโถนนอน , ผ้าปิดกระโถนนอน , ผ้ายางกันเปื้อน ,สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ, เหยือกน้ำ, เสาน้ำเกลือ , ถุงมือสะอาด1คู่ และMask
วัตถุประสงค์
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อการรักษา
ลดปัญหาอาการท้องผูก
การปฏิบัติ
8) เปิด Clampเพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวนปิด Clamp หัวสวนหล่อลื่นหัวสวนด้วย KY jellyไล่อากาศเพื่อทดสอบว่าหัวสวนไม่อุดตัน
9)บอกให้ผู้ปุวยทราบว่าจะทำการสวนอุจจาระโดยการแตะหัวสวนที่ทวารหนักอย่างนุ่มนวลเบาๆใช้มือข้างที่ไม่ถนัดยกButtock ให้เห็นช่องทวารหนัก
7) ปิด Clampหัวสวนไว้เทน้ำยาใส่หม้อสวนแขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ปุวย 1ฟุต (12 นิ้ว)เหนือจากระดับที่นอน
10) สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ3นิ้ว แล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
6) ล้างมือ สวมถุงมือและต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น
11) จับหัวสวนให้แน่กระชับมือเปิด Clamp ให้น้ำไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ5-10 นาทีระหว่างทำการสวนให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาวๆ
5) คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย
12) ค่อยๆ ดึงสายสวนออกเบาๆปลดหัวสวนออกห่อด้วยกระดาษชำระวางใน ชามรูปไต
4) จัดท่านอนให้ถูกต้องคือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า
13) สอดBed panกั้นม่านให้มิดชิด หลังถ่ายเสร็จใช้ Bed padปิดคลุม Bed pan
3) ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ป่วย
14) เก็บเครื่องใช้ ทำความสะอาดให้เรียบร้อย
2) นำเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน
15) ลงบันทึกทางการพยาบาล
1) การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
ใบส่งตรวจ
หม้อนอน
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้งใช้ไม้แบนเขี่ยอุจจาระจำนวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที
อธิบายให้ผู้ปุวยทราบ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
ให้ผู้ปุวยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
ข้อควรคำนึงในการสวนอุจจาระ
สอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย มีรูเปิด 1–2รู ปลายมน
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่นKY jelly
การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ำไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
ทิศทางการสอดหัวสวนให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
ท่านอนของผู้ป่วยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)ให้เข่าขวา งอขึ้นมากๆ
แก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Waterintoxication)
การติดเชื้อ
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
การคั่งของโซเดียม
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ภาวะ Methemoglobinemia
อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F (40.5 ̊C)
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
ลำไส้อุดตัน
มีการอักเสบของลำไส้
มีการติดเชื้อในช่องท้อง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจาจาระ
วินิจฉัยทางการพยาบาล
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจำ
วางแผนทางการพยาบาล
เกณฑ์การประเมินผล
มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
การวางแผน
วางแผนให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
ประเมินภาวะสุขภาพ
S:“ทานยาระบายก่อนนอนเป็นประจำทุกคืนไม่ชอบอาหารประเภทผัก และผลไม้”
O: จากการตรวจร่างกายพบAbdomen:Distension, Tympanic sound, Decrease bowel sound 1-2 time/min
ปฏิบัติการพยาบาล
ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10แก้ว
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
การประเมินผลการพยาบาล
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
ความเหมาะสม(Opportunity)
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย สถานที่ไม่เป็นส่วนตัวและท่านั่งจะช่วยในการขับถ่ายได้สะดวก
อารมณ์ (Emotion)
ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ อารมณ์ของบุคคลจะมีผลกระทบต่อการทำงานของลำไส้
ยา(Medication)
ยาAtropine และMorphineจะทำให้การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลงและการบีบตัวขับอุจจาระช้าลง ทำให้เกิดท้องผูกได้
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
จะช่วยทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
การตั้งครรภ์(Pregnancy)
ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย ทำให้จะไปเบียดกดลำไส้ส่วนปลาย
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การดื่มน้ำสะอาดวันละ 6-8แก้ว จะช่วยเรื่องการขับถ่ายอุจจาระเป็นไปตามปกติแล้ว
อาการปวด (Pain),โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid), การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรง (Rectal surgery), และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
กินอาหารที่มีกากใยมากจะทำให้การขับถ่ายดี
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery andAnesthesia)
เป็นสาเหตุของการเกิดPeristalsisลดลง
อายุ(Age)
ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลายๆ ครั้ง
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องอืด (Flatulence )
การพยาบาล
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60องศา
สาเหตุ
มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
มีการสะสมของอุจจาระมาก
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
การพยาบาล
ทำความสะอาดร่างกายและสอนการกลั้น ปัสสาวะ ให้กำลังใจ และสร้างเสริมกำลังใจกับผู้ป่วยให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผลจากการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าตนเอง
กลายเป็นคนแยกตัวออกจากสังคม
อุจจาระไหลไม่รู้ตัว
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
การพยาบาล
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกาย
สาเหตุ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้ายางรองก้น
สารหล่อลื่น
ถุงมือสะอาด 2คู่
หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
3.ปูผ้ายางรองให้ผู้ป่วย
4.สวมถุงมือ 2ชั้น แล้วใช้นิ้วชี้หล่อลื่นด้วยเจลหล่อลื่น
5.ล้วงเอาก้อนอุจจาระออกใส่ในหม้อนอน
6.เช็ดทำความสะอาด
7.ทำความสะอาดเครื่องใช้
2.ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่่ำ
1.แนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยทราบ
ภาวะท้องเสีย(Diarrhea)
ผลที่เกิด
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
การพยาบาล
ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนครั้งค่อนข้างบ่อย
การดูแลเรื่องอาหาร ในระยะแรกมักให้งดอาหารและน้ำทางปาก (NPO)
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน
สาเหตุ
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
ภาวะท้องผูก(Constipation)
การพยาบาล
ช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
ให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระเวลาที่เหมือนกัน
แนะนำให้ออกกำลังกาย
ช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้ำให้เพียงพอ
พยายามลดการใช้จนสามารถเลิกใช้ยาระบาย
แนะนำสมุนไพร เช่น กล้วยน้ำว้าสุก
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
ผลที่เกิด
แบคทีเรียในลำไส้
อุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร
กลั้นอุจจาระไม่ได้
ปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น
แน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง
สาเหตุ
ทุติยภูมิ
การอุดกั้นทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของไขสันหลัง
ฝิ่น
ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหูรูด
ผิดปกติของลำไส้
ปฐมภูมิ
ขาดน้ำ
ลำไส้ไม่ได้เคลื่อน
รับประทานผักน้อย
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การพยาบาลผู้ป่วย
ทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้ และผิวหนังรอบๆ
การปิดถุงรองรับอุจจาระเมื่อทำความสะอาดStomaและผิวหนังรอบๆแล้ว ต้องปิดด้วยถุงรองรับอุจจาระเพื่อป้องกันผิวหนังรอบ
การออกกำลังกายและการทำงาน
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ฝึกหัดการขับถ่ายโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ทำความสะอาดแผลทวารเทียม
ดึงถุงที่มีกาวติดกับผิวหนังออก แล้วใช้สำสีสะอาดชุบน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาดStomaก่อน แล้วเช็ดผิวหนังรอบๆ ให้สะอาด เช็ดด้วยสำลีแห้ง แล้วปิดถุงใหม่ลงไป
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามเดิมหลังผ่าตัด 6–8เดือน สามารถออกกำลังกายได้ แต่ควรหลีกเลี่ยงกีฬาที่หักโหมรุนแรง
Ex:หญิงไทยรายหนึ่ง อายุ 35ปี ให้ประวัติว่ามีอาการท้องผูกต้องใช้ยาระบายก่อนนอนเป็นประจำทุกคืนและมีพฤติกรรมไม่ชอบรับประทานผักและผลไม้ ดื่มน้ำน้อยวันละไม่ถึง 1,000ml.