Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้มากขึ้น
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ
ชนิดของอาหารที่รับประทาน
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
อารมณ์
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย
ความเหมาะสม
ยา
การตั้งครรภ์
อาการปวด
การผ่าตัดและการดมยาสลบ
การตรวจวินิจฉัยโรค
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
เด็ก
ปกติ
สีเหลือง
มีกลิ่นเฉพาะ:จากอาหารตกค้าง
อ่อนนุ่ม
(นมมารดา) วันละ 4-6 ครั้ง
เท่ากับขนาดความกว้างของลำไส้ตรง
ผิดปกติ
ขาว หรือคล้ายดินเหนียว
ไม่มีน้ำดี
กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
การติดเชื้อจากเลือดในอุจจาระ
เหลว
ท้องเสียหรือการดูดซึมลดลง
มากกว่า วันละ 6 ครั้ง
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
ขนาดเล็กคล้ายดินสอ
มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมีการบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
ผู้ใหญ่
ปกติ
สีน้ำตาล
มีกลิ่นเฉพาะ:จากอาหารตกค้าง
อ่อนนุ่ม
วันละ 2 ครั้งหรือ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
เท่ากับขนาดความกว้างของลำไส้ตรง
ผิดปกติ
ดำ
มีธาตุเหล็กปนอยู่หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
แดง
มีเลือดออกในทางเดินอาหารมีริดสีดวงทวาร
ซีด และเป็นมันเยิ้ม
พร่องหน้าที่การดูดซึมของไขมัน
กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
การติดเชื้อจากเลือดในอุจจาระ
เหลว
ท้องเสียหรือการดูดซึมลดลง
แข็ง
ท้องผูก
มากกว่าวันละ 3 ครั้ง
หรือ สัปดาห์ละครั้ง
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
ขนาดเล็กคล้ายดินสอ
มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมีการบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำกระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลา
แนะนำให้ออกกำลังกาย
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
การอัดแน่นของอุจจาระ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
พบอุจจาระเป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ
ใช้ยาระบายเพื่อทำให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
สวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
ภาวะท้องอืด
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
พิจาณาการใช้ยา
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ทำให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย
การพยาบาลผู้ปุวยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระโดยใช้วิธีการฝึกถ่ายอุจจาระเป็นเวลา
ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา
ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงการเกิดโรคหวัด
ภาวะท้องเสีย
การเพิ่มจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระเป็นน้ำเหลว หรือมีมูกปน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องเสีย
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนครั้งค่อนข้างบ่อย
การดูแลเรื่องอาหาร ในระยะแรกมักให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ติดตาม เฝ้าระวัง ปูองกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
สังเกตความผิดปกติอื่น ๆ
สังเกตและบันทึกลักษณะอุจจาระ
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ หรือการกลับซ้ำเป็นอีก
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การผ่าตัดเอาลำไส้มาเปิดออกทางหน้าท้อง เพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ
การพยาบาลผู้ปุวยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การท าความสะอาดช่องเปิดของล าไส้ และผิวหนังรอบ ๆ แบ่งเป็น 3ระยะ
การปิดถุงรองรับอุจจาระ
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกายและการทำงาน
การฝึกหัดการขับถ่าย โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ภาวะแทรกซ้อน สังเกตและดูแลตนเอง
การสวนอุจจาระ
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เพื่อการรักษา
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้ า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ า (Sim’s position)
แรงดันของสารน้ าที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การปล่อยน้ำเปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาทีเพื่อให้ผู้ปุวยเก็บน้ำได้หมด
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly
ทิศทางการสอดหัวสวน
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
เป็นการตรวจสุขภาพพื้นฐานการตรวจหนึ่ง หรือการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นของโรคระบบทางเดินอาหาร
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
. การประเมินผลการพยาบาล