Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ :deciduous_tree: - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ :deciduous_tree:
10.6ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
ข้อควรระวังในการสวนอุจจาระ
3) ท่านอนของผู้ปุวยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)ไม่ควรให้อยู่ในท่านั่ง
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอนในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
5)การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ าไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที จะช่วยลดความไม่สุขสบายจากลำไส้โปุงตึง และถ้าปล่อยน้ำไหลแรงเกินอาจทำให้ผู้ปุวยปวดท้องเป็นตะคริวอาจทำให้ลำไส้แตกได้
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
2เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10ปีใช้ในปริมาณ250–500 ml.
3เด็กอายุ 10–14ปีใช้ในปริมาณ500–750 ml.
1เด็กเล็กใช้ในปริมาณ150–250 ml.
4ผู้ใหญ่ใช้ในปริมาณ750–1,000 ml.
1)อุณหภูมิของสารน้ าอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F (40.5 ̊C)
7)การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่นKY jelly
8)ทิศทางการสอดหัวสวนให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
9)ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
10)การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
6.1อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
3)ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Waterintoxication)
4)การติดเชื้อเช่นลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ
2)ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
5)การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลำไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
1)การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
6)ภาวะ Methemoglobinemia
.6.2ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
1)ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
2)มีการอักเสบของลำไส้ เช่นไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
3)มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
4)ผู้ปุวยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย(Post rectal surgery)
10.8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment) s,o
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
3.การวางแผนการพยาบาล(Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
วัตถุประสงค์
4.การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
10.2ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ
ต่อการขับถ่ายอุจจาระ
7 ความเหมาะสม(Opportunity)
9 ยา(Medication)
6 ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
10 การตั้งครรภ์(Pregnancy)
5 อารมณ์ (Emotion)
11 อาการปวด (Pain)
12 การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery andAnesthesia)
4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
3ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
13 การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
1 อายุ (Age)
10.1 ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระเป็นสิ่งสำคัญเพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ ยิ่งถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้นย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้มากขึ้น
10.5การสวนอุจจาระ
5.1 วัตถุประสงค์
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
2)เตรียมตรวจทางรังสี
5) เพื่อการรักษาเช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ปุวยโรคตับ
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
5.2ชนิดของการสวนอุจจาระ
1 Cleansing enemaเ
ป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ โดยการทำให้เกิดการระคายเคืองของ Colon
3)Normal saline solution enema(NSSenema)
4)Fleet enema
2) Soap sud enema(SSE)
1) Tap water enema (TWE)
5) Oil enema
2 Retention enema
การสวนเก็บเป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
1) Oil-retention enema
2)Medicated enema
5.3อุปกรณ์เครื่องใช้
6) กระโถนนอน (Bed pan)
7) ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
5) กระดาษชำระ
8) ผ้ายางกันเปื้อน
4) ชามรูปไต
9) สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
3) สารหล่อลื่น เช่น KY jellyเป็นต้น
10) เหยือกน้ำ
2) หัวสวนอุจจาระ
11) เสาน้ำเกลือ
1) หม้อสวน
12) ถุงมือสะอาด1คู่ และMask
10.7การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
7.1ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2)การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)
3)การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ(Stool culture)
1)การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ(Fecal examination หรือStool examination)
7.2อุปกรณ์เครื่องใช้
3) ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษชำระ
2)ใบส่งตรวจ
5)หม้อนอน
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
7.3 วิธีปฏิบัติ
2)การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
(2) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(3)ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
(1) ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
1)การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง
(1)อธิบายให้ผู้ปุวยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
(2) ให้ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้งใช้ไม้แบนเขี่ยอุจจาระจ านวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ
(4)ลงบันทึกทางการพยาบาลลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
(3)ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
10.3ลักษณะของอุจจาระปกติและ
สาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type(ชนิด)
Type 4(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 3(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ)
Type 6(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7(ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
Type 1ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
ลักษณะปกติ
ลักษณะอ่อนนุ่ม
ความถี่เด็ก: (นมมารดา)วันละ4-6ครั้ง (นมขวด)วันละ1-3ครั้ง ผู้ใหญ่: วันละ 2ครั้งหรือ สัปดาห์ละ3 ครั้ง
กลิ่นมีกลิ่นเฉพาะ:จากอาหารตกค้าง
รูปร่างเท่ากับขนาดความกว้างของล าไส้ตรง
สีเด็ก:สีเหลือง ผู้ใหญ่:สีน้ าตาล
อื่นๆอาหารไม่ย่อย, แบคทีเรียที่ตายแล้ว, ไขมัน, สีน้ าดี, เซลล์หรือเยื่อบุล าไส้, น้ า
ลักษณะผิดปกติ
ลักษณะ เหลว แข็ง
ความถี่ เด็กมากกว่าวันละ6ครั้งหรือ 1-2วัน ครั้งเดียว ผู้ใหญ่มากกว่าวันละ 3ครั้งหรือ สัปดาห์ละครั้ง
กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
รูปร่าง ขนาดเล็กคล้ายดินสอ
สี ขาว หรือคล้ายดินเหนียว ดำ(Melena) แดง ซีด และเป็นมันเยิ้ม
อื่นๆ เลือด, หนอง, มูก,แปลกปลอม, พยาธิอุจจาระเป็นน้ ามันเยิ้ม เป็นมูก
10.4สาเหตุและการพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
4.1ภาวะท้องผูก(Constipation)
.1 สาเหตุภาวะท้องผูก
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
โดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อยภาวะขาดน้ำ
2)ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
อาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา เช่น ฝิ่นหรือยาระงับปวด การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)เกิดจากอุจจาระที่แห้งแข็งกดหลอดเลือดด ารอบๆ ทวารหนัก
1) เกิดอาการแน่นท้องท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้
4) แบคทีเรียในลำไส้ มีอาการทางสมอง ได้แก่สับสนซึมและโคม่า
5) ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
6)การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
4) แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
3) แนะนำกระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้ าให้เพียงพอ
6) แนะนำให้ออกกำลังกาย
2) แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
7) สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
1) แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
8) แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
4.2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
1 สาเหตุ
อาการเริ่มแรกคือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว ผู้ปุวยจะรู้สึกปวดท้องมาก ปวดอุจจาระ อยากถ่ายตลอดเวลาแต่ถ่ายไม่ออก อาจมีอาการอื่นร่วมด้วยคือบั้นเอว ท้องอืด แน่น คลื่นไส้ อาเจียน หายใจตื้นๆ ความดันโลหิตสูงขึ้น
2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ (Evacuation) และอาจใช้ยาระบายเพื่อทำให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
3 การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
คือการล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ปุวยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้
4 อุปกรณ์เครื่องใช้
2) สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลินหรือสบู่เหลว
3) ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
1) ถุงมือสะอาด 2คู่และหน้ากากอนามัย (Mask)
4)หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสำหรับใช่อุจจาระ
4.3ภาวะท้องอืด (Flatulence )
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในล าไส้ท าให้เกิดอาการต่างๆ เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้
1 สาเหตุ
2)มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือล าไส้ปริมาณมาก
3)มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
1) มีการสะสมของอาหารหรือน้ ามาก อาหารไม่ย่อย
4) ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
4.4การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
1 ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
2) ผลด้านจิตใจ
ทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
3) ผลด้านสังคม
เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม
1)ผลด้านร่างกาย
เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและอาจเกิดแผลจากการระคายเคืองเสียดสีของผิวหนังบริเวณรอบรูทวาร
4) ผลด้านจิตวิญญาณ
ขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนากลัวสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตนเองในอนาคต
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ทำให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางร่างกาย มักเกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนักเช่นมีการกดทับจากก้อนอุจจาระเป็นเวลานาน
4.5ภาวะท้องเสีย(Diarrhea)
การที่อุจจาระเป็นน้ำเหลว หรือมีมูกปน โดยถือว่าถ่ายเป็นน้ำเหลว 3 ครั้งในเวลา 12ชั่วโมง หรือถ่ายเป็นน้ำปนมูกเพียงครั้งเดียว มักกลั้นอุจจาระไว้ไม่ได้นาน หรือกลั้นไม่ได้เลย
1 สาเหตุของภาวะท้องเสีย
2)จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค เช่น อาหารที่มีแมลงวันตอม
.2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
1) เกิดภาวะเสียสมดุลน้ าและเกลือแร่ในร่างกาย
2)เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
4.6การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การผ่าตัดเอาลำไส้มาเปิดออกทางหน้าท้องเพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระมักทำในผู้ปุวยที่มีพยาธิสภาพที่ลำไส้เช่นมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
ชนิดของStoma
1.Colostomyเป็นทวารหนักชนิดลำไส้ใหญ่ ลำไส้ที่นำมาเปิดออกหน้าท้อง
2.Ileostomy เป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก ลำไส้ที่นำมาเปิดออกจะเป็นส่วนปลายของลำไส้เล็ก (Ileum) อยู่ที่หน้าท้องส่วนล่างด้านขวา
6.1 การพยาบาลผู้ปุวยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
1) การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้ และผิวหนังรอบๆ
3) การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
2)ปิดด้วยถุงรองรับอุจจาระเพื่อปูองกันผิวหนังรอบๆสัมผัสกับอุจจาระที่ผ่านออกจากลำไส้
4)การออกกำลังกายและการทำงาน
5) การฝึกหัดการขับถ่ายโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ต้องหัดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง
6) ภาวะแทรกซ้อนสังเกตและดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย
6.2 การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
เมื่อต้องเปลี่ยนถุงรองรับ ด้วยการดึงถุงที่มีกาวติดกับผิวหนังออก แล้วใช้ลำสีสะอาดชุบน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาดStomaก่อน แล้วเช็ดผิวหนังรอบๆ ให้สะอาด เช็ดด้วยส าลีแห้ง แล้วปิดถุงใหม่ลงไป
6.3 คำแนะนำสำหรับผู้ปุวยผ่าตัดเปิดลำไส้ทางหน้าท้อง
สามารถออกกำลังกายได้ แต่ควรหลีกเลี่ยงกีฬาที่หักโหมรุนแรง และ ไม่ควรยกของหนักเพราะอาจเป็นสาเหตุการเกิดไส้เลื่อนได้รับประทานอาหารได้ทุกประเภท ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊สและกลิ่