Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
1ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
การสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้นย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย
ไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้าง
เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้มากขึ้น
การขับของเสียออกจากร่างกาย
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
อารมณ์ (Emotion)
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
ความเหมาะสม(Opportunity)
ยา(Medication)
การตั้งครรภ์(Pregnancy)
อาการปวด (Pain)โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery andAnesthesia)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
3ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type
Type 4
ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม
Type 5
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน
Type 3
ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ)
Type 6
ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ
Type 2
ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน
Type 7
ลักษณะเป็นน้ำไม่มีเนื้ออุจจาระปน
Type 1
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
มีกลิ่นเฉพาะ:จากอาหารตกค้าง
เด็ก:สีเหลือง
ผู้ใหญ่:สีน้ำตาล
อ่อนนุ่ม
เด็ก: (นมมารดา)วันละ4-6ครั้ง (นมขวด)วันละ1-3ครั้ง
ผู้ใหญ่: วันละ 2ครั้งหรือ สัปดาห์ละ3 ครั้ง
เท่ากับขนาดความกว้างของลำไส้ตรง
อาหารไม่ย่อย, แบคทีเรียที่ตายแล้ว, ไขมัน, สีน้ำดี, เซลล์หรือเยื่อบุลำไส้, น้ำ
4สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
1 ภาวะท้องผูก(Constipation)
2)ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
(2)การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
(3)ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
(1)ฝิ่น
(4) ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหว
(6) ภาวะผิดปกติของลำไส้
(5) การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร
1) เกิดอาการแน่นท้อง
4) แบคทีเรียในลำไส้
5) ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
6)การกลั้นอุจจาระไม่ได้
3 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
2) แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
3) แนะนำกระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้ำให้เพียงพอ
1) แนะนำให้ความรู้
4) แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระ
6) แนะนำให้ออกกำลังกาย
7) สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
8) แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหาร
2 การอัดแน่นของอุจจาระ
1 สาเหตุ อาการเริ่มแรกคือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
3 การล้วงอุจจาระ (Evacuation)คือการล้วงอุจจาระออกโดยตรง
วิธีปฏิบัติ
4) พยาบาลสวมถุงมือ 2ชั้น
5) ล้วงเอาก้อนอุจจาระออกใส่ในหม้อนอนหรือถุงพลาสติก
3)ปูผ้ายางรองให้ผู้ป่วย
6) เช็ดทำความสะอาด
2) ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ
7) ทำความสะอาดเครื่องใช้และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
1) แนะนำตัว
8)ลงบันทึกทางการพยาบาล
3ภาวะท้องอืด
สาเหตุ
มีการสะสมของอุจจาระมาก
ปริมาตรของช่องท้องลดลง
มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
1)จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60องศา
2) อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
3) ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืด
สาเหตุจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไห
สาเหตุจากได้รับยาระงับปวดที่มีอาการข้างเคียงทำให้ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
สาเหตุจากอาหารไม่ย่อย
4การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านจิตใจ
ผลด้านสังคม
ผลด้านร่างกาย
ผลด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลผู้ป่วยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
1) ด้านร่างกาย
2)ด้านจิตใจสังคม และจิตวิญญาณ
4 ภาวะท้องเสีย(Diarrhea)
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
2)จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
1) เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
2)เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องเสีย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วย
2)ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระ
3) การดูแลเรื่องอาหาร
4) ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน
5) สังเกตความผิดปกติอื่นๆ
6) สังเกตและบันทึกลักษณะอุจจาระ
7) ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
8) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
ชนิดของStoma
1.Colostomyเป็นทวารหนักชนิดลำไส้ใหญ่
Ascending colostomy
Transverse colostomy (Loop colostomy)
Sigmoid colostomy(End colostomy)
2.Ileostomyเป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก
ET nurse
การพยาบาลผู้ป่วยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
3) การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
1) การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้
4)การออกกำลังกายและการทำงาน
5) การฝึกหัดการขับถ่าย
6) ภาวะแทรกซ้อนสังเกตและดูแลตนเอง
2)การปิดถุงรองรับอุจจาระเมื่อทำความสะอาดStoma
คำแนะนำสำหรับผู้ปุวยผ่าตัดเปิดลำไส้ทางหน้าท้อง
การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
5การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
4) เตรียมคลอด
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
5) เพื่อการรักษา
2)เตรียมตรวจทางรังสี
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enemaเป็นการสวนน้ า
Tap water enema (TWE)
Soap sud enema(SSE)
Normal saline solution enema
Fleet enema
Oil enema
Retention enemaการสวนเก็บ
Oil-retention enema
Medicated enema
วิธีปฏิบัติ
3) ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ปุวย
4) จัดท่านอนให้ถูกต้อง
2) น าเครื่องใช้มาที่เตียง
5) คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย
1) การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน
6) ล้างมือ สวมถุงมือ
7) ปิด Clampหัวสวนไว้
8) เปิด Clamp
9) บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการสวนอุจจาระ
10) สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวน
11) จับหัวสวนให้แน่กระชับมือเปิด Clamp ให้น้ าไหลช้าๆ
12) ค่อยๆ ดึงสายสวนออกเบาๆปลดหัวสวนออก
13) สอดBed panกั้นม่านให้มิดชิด
14) เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาดให้เรียบร้อย
15) ลงบันทึกทางการพยาบาล
6ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
การติดเชื้อเช่นลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ
ภาวะ Methemoglobinemia
การคั่งของโซเดียม
10)การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
9)ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
8)ทิศทางการสอดหัวสวน
7)การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
5)การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ำไหลช้า
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
3) ท่านอนของผู้ป่วยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ
1)อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F (40.5 ̊C)
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
4)ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย
3)มีการติดเชื้อในช่องท้อง
2)มีการอักเสบของลำไส้
1)ลำไส้อุดตัน
7การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
1ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
3.การวางแผนการพยาบาล(Planning)
4.การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
5.การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)