Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
มีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย และเพิ่มความ เสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้
การขับถ่ายอุจจาระจึงถือได้ว่าเป็นทั้งการนำสารพิษและของ เสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ออกไป
เป็นการสร้างระบบขับถ่ายที่ดีต่อร่างกายและดีต่อสุขภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ
เด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง
ผู้สูงอายุมักจะมีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ชนิดของอาหารที่รับประทาน
คะน้า
กระเฉด
มะละกอ
ลูกพรุน
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
น้ำจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้ อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทำให้อุจจาระอ่อนตัว
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
การเคลื่อนไหวของ ร่างกาย จะช่วยทำให้การทางานของลาไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
อารมณ์
อารมณ์ของบุคคลจะมีผลกระทบต่อ การทำงานของลำไส้
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย
หากมีการกลั้นอุจจาระไว้จะทำให้เกิดท้องผูกได้
ความเหมาะสม
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย
ยา
อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน อาหารอาจทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
การตั้งครรภ์
ส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกเป็นประจำและเกิดโรคริดสีดวงทวารในหญิงตั้งครรภ์
อาการปวด
เมื่อมีอาการปวดถ่ายอุจจาระ ผู้ป่วยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทาให้อั้นอุจจาระไว้ จึงส่งผลให้เกิดอาการท้องผูก
การผ่าตัดและการดมยาสลบ
ขณะทำการ ผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลาไส้ทำให้เกิด Peristalsisลดลงชั่วคราว
การตรวจวินิจฉัยโรค
ส่งผลรบกวนการทางานของลาไส้ชั่วคราว
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ชนิด
1 ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
2 ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน
3 ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ
4 ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม
5 ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน
6 ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ
7 ลักษณะเป็นน้ำไม่มีเนื้ออุจจาระปน
ลักษณะ
ปกติ
สีเหลือง สีน้ำตาล
กลิ่นเฉพาะจากอาหาร ตกค้าง
อ่อนนุ่ม
ความถี่
เด็ก
(นมขวด) วันละ 1-3 ครั้ง
(นมมารดา) วันละ 4-6 ครั้ง
ผู้ใหญ่
วันละ 2 ครั้ง
สัปดาห์ละ 3 คร้ัง
เท่ากับขนาดความกว้างของ ลำไส้ตรง
อื่นๆ
อาหารไม่ย่อย
แบคทีเรียที่ ตายแล้ว
ไขมัน
สีน้ำดี
เซลล์หรือเยื่อบุลาไส้
น้ำ
ผิดปกติ
สี ขาว หรือคล้ายดินเหนียว ดำ แดง
กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
เหลว แข็ง
ความถี่
เด็ก
มากกว่า วันละ 6 ครั้ง
1-2 วัน ครั้งเดียว
ผู้ใหญ่
มากกว่าวันละ 3 คร้ัง
สัปดาห์ละครั้ง
ขนาดเล็กคล้ายดินสอ
อื่นๆ
เลือด
หนอง
มูก
แปลกปลอม
พยาธิ
อุจจาระเป็นน้ำมันเยิ้ม
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
การรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย
ภาวะขาดน้ำ
การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
ฝิ่น
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทาหน้าที่ของไขสันหลัง
ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลำไส้
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ภาวะผิดปกติของลำไส้
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร
แบคทีเรียในลำไส้
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
การอัดแน่นของอุจจาระ
สาเหตุ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
พบอุจจาระ เป็นน้าเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้ ซ
การล้วงอุจจาระ เป็นการ ช่วยเหลือผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้
การพยาบาล
ล้วงอุจจาระ
ให้ยาระบาย
ภาวะท้องอืด
สาเหตุ
การสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมากเกินไป
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะ
การพยาบาล
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อยตัว ปอด
ขยายตัวได้ดีขึ้นลดอาการแน่นหน้าอกและทาให้หายใจสะดวก
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด แสดงความเห็นอกเห็นใจและให้กาลังใจ
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ถ่ายอุจาระออกมาโดยไม่รู้ตัว ทำให้ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
เมื่อการกลั้น อุจจาระไม่ได้ เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง
ขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วม
การพยาบาล
ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระโดยใช้วิธีการฝึกถ่ายอุจจาระเป็นเวลา
ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา
ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง
ผู้ดูแลจึงควรให้ กำลังใจ และสร้างเสริมกาลังใจกับผู้ป่วย
ภาวะท้องเสีย
สาเหตุ
อาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
ชนิดของ Stoma
Colostomyเป็นทวารหนักชนิดลาไส้ใหญ่
Ileostomy เป็นทวารหนักชนิดลาไส้เล็ก
การพยาบาล
การทำความสะอาดช่องเปิดของลาไส้
การปิดถุงรองรับอุจจาระ เมื่อทาความสะอาด Stoma และผิวหนังรอบ ๆ
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกายและการทำงาน
การฝึกหัดการขับถ่าย
ภาวะแทรกซ้อน สังเกตและดูแลตนเอง
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เพื่อการรักษา
ชนิด
Cleansing enema เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่
ชนิดของน้ำยา
Tap water enema (TWE)
Soap sud enema (SSE)
Normal saline solution enema (NSS enema)
Fleet enema
Oil enema
Retention enema การสวนเก็บ
Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ำมัน
Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
ความปลอดภัย
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ
เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
ท่านอนของผู้ป่วย
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
ทิศทางการสอดหัวสวน
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อุณหภูมิของสารน้ำที่เหมาะสมคือ105 F
อาการแทรกซ้อน
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
การติดเชื้อ
การคั่งของโซเดียม
ภาวะ
ข้อห้าม
ลำไส้อุดตัน
มีการอักเสบของลำไส้
มีการติดเชื้อในช่องท้อง
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
อุปกรณเ์ครื่องใช้
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
ใบส่งตรวจ
ไม้แบน สาหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน