Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะปกติอุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้าประมาณร้อยละ 70-80
ส่วนที่เป็น ของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
โดยทั่วไปความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระมักเกิดขึ้นเมื่อตื่นนอนหรือหลังมื้ออาหาร
การขับถ่ายอุจจาระจึงเป็นสิ่งสาคัญ เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย(Body movement)
อารมณ์ (Emotion)
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
ความเหมาะสม (Opportunity)
ยา (Medication)
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
อาการปวด (Pain)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type 1
Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass) ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2
Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool (ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 7
Watery, no solid pieces (entirely liquid) (ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
ลักษณะของอุจจาระปกติท่ัวไปจะอ่อนนุ่มมีสีอยู่ระหว่าง เหลือง
น้ำตาลอ่อนไปจนถึง น้าตาลเข้มขึ้นอยู่กับอาหารที่รับประทาน
ลักษณะอุจจาระผิดปกติสามารถบ่งบอกโรค
และพฤติกรรม สุขภาพได้เช่นกัน
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย
ภาวะขาดน้ำ
การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
เกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
แบคทีเรียในลาไส้ จะเปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร เป็นแอมโมเนีย
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญ
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
แนะนำให้ออกกำลังกาย
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
แนะนำสมุนไพร
การอัดแน่นของอุจจาระ
(Fecal impaction)
สาเหตุ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
พบอุจจาระ เป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนัก
ทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วย
การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกาย
โดยการล้วงอุจจาระ (Evacuation)
อาจใช้ยาระบายเพื่อทาให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
หรือการสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย (Mask)
สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสาหรับใช่อุจจาระ
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยทราบ
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ ขาขวา งอเล็กน้อย (Sim’s position)
ปูผ้ายางรองให้ผู้ป่วย และวางหม้อนอนหรือถุงพลาสติกไว้ใกล้ ๆ
พยาบาลสวมถุงมือ 2 ชั้น แล้วใช้นิ้วชี้หล่อลื่นด้วยเจลหล่อลื่น
ล้วงเอาก้อนอุจจาระออก
เช็ดทำความสะอาด จัดเสื้อผ้าให้เรียบร้อย และเก็บเครื่องใช้
ทำความสะอาดเครื่องใช้และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
สาเหตุ
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
การพยาบาลผู้ป่วย
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัว แสดงความเห็นอกเห็นใจและให้กำลังใจ
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
(Fecal incontinence)
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านร่างกาย
การขับถ่ายอุจจาระที่ควบคุมไม่ได้ จึงทำให้มีอุจจาระไหลออกมาโดยไม่รู้ตัว
การระคายเคืองต่อผิวหนังและอาจเกิดแผลจากการระคายเคืองเสียดสีของผิวหนังบริเวณรอบรูทวาร
เกิดความสกปรกเปรอะเปื้อนของเสื้อผ้าและเครื่องใช้
ผลด้านจิตใจ
การสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
ผลด้านสังคม
น่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม หรือพบปะผู้คนโดยไม่มีเหตุจำเป็น
กลายเป็นคนแยกตัวออกจากสังคม
ผลด้านจิตวิญญาณ
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง
ขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การพยาบาลผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ
ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา
ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง
ด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
อาจส่งผลให้เกิดภาวะเก็บกด (Depression)
ควรให้กำลังใจ และสร้างเสริมกำลังใจ
ทำสมาธิและมีสติรู้อยู่เป็นปัจจุบันตลอดเวลา
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
อาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้าและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance)
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
การพยาบาลผู้ป่วย
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนครั้งค่อนข้างบ่อย
ดูแลเรื่องอาหาร
ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
(Fecal diversion)
Colostomy
Ascending colostomy
Transverse colostomy (Loop colostomy)
Sigmoid colostomy (End colostomy)
Ileostomy
การพยาบาลผู้ป่วย
ทำความสะอาดช่องเปิดของลาไส้ และผิวหนังรอบ ๆ
ปิดถุงรองรับอุจจาระ
รับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกายและการทำงาน
ฝึกหัดการขับถ่าย
สังเกตและดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย
การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
เปลี่ยนถุงรองรับ ด้วยการดึงถุงที่มีกาวติดกับผิวหนังออก
แล้วใช้สำลีสะอาดชุบน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาด Stoma ก่อน
แล้วเช็ดผิวหนังรอบ ๆ ให้สะอาด
เช็ดด้วยสำลีแห้ง แล้วปิดถุงใหม่ลงไป สังเกตรอยแดง หรือผื่น
และระวังมีแผลถลอกจากการดึงพลาสติกกาวที่ติดแน่นกับผิวหนัง
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยผ่าตัด
เปิดลำไส้ทางหน้าท้อง
ควรหลีกเลี่ยงกีฬาที่หักโหมรุนแรง
ไม่ควรยก ของหนักเพราะอาจเป็นสาเหตุการเกิดไส้เลื่อนได้
รับประทานอาหารได้ทุกประเภท ยกเว้นบางโรค
ที่ต้องควบคุมการรับประทานอาหาร
การสวนอุจจาระ
Cleansing enema
Tap water enema (TWE)
Soap sud enema (SSE)
Normal saline solution enema (NSS enema)
Fleet enema
Oil enema
Retention enema
Oil-retention enema
Medicated enema
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้ำ
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ
ท่านอนของผู้ป่วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
และลักษณะของสายสวนอุจจาระ
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly
ทิศทางการสอดหัวสวน
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Water intoxication)
การติดเชื้อ
การคั่งของโซเดียม
ภาวะ Methemoglobinemia
ข้อห้ามที่ไม่ควรทำในผู้ป่วย
ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
มีการอักเสบของลำไส้
มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิด
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stool examination)
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture)
อุปกรณเ์ครื่องใช้
ไม้แบน สาหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
ใบส่งตรวจ
หม้อนอน
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ
และส่งตรวจหาเลือดแฝง
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสาลีใส่เข้าไปในรูทวาร
1-2 นิ้ว แล้วจุ่ม ไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)