Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกรฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง - Coggle Diagram
ยาที่ออกรฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ประโยชน์ในการรักษา
ใช้รักษาโรคกังวล(anxiety disorder)
รักษาโรคนอนไม่หลับ(insomnia)
ใช้รักษาโรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง(muscle spasm)
ใช้ทำให้ลืม(anterograde amnesia)
ใช้รักษาโรคชัก(seizure disorder)
ใช้รักษาอาการขาดเหล้า(alcohol withdrawal)ใช้ diazepam ป้องกันการชักเนื่องจากการขาดเหล้า
ผลข้างเคียง
มึนศีรษะ สับสน
ทำให้หลงลืม การรับรู้ ความจำแย่ลง
กดการหายใจและระบบหมุนเวียนเลือด
พิษต่อตับ ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคตับ
การใช้เป็นเวลานานแล้วหยุดยาเร็วทำให้เกิดอาการถอยยา(withdrawal symptom)
การใช้เป็นเวลานานทำให้เกิดการดื้อยา
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinatic)
ดูดซึมได้ดีโดยการกิน กระจายเข้าสมองและเนื้อเยื่อต่างๆได้ดี
ถูกทำลายที่ตับ
เมื่อใช้เป็นเวลานาน ยาสามารถกระตุ้น P450 ทำให้เพิ่มการทำลายยาและยังเพิ่มการทำลายยาอื่นด้วย
ส่วนมากถูกขับถ่ายทางปัสสาวะ
ข้อห้ามใช้
Acute intermittent Porphyria (เป็นโรคเลือดที่เกิดจากการผิดปกติของเลือดจากการที่ร่างกายขาด enzyme ที่ใช้ในการสร้างเม็ดเลือด ที่เรียกว่า “Heme” ซึ่งอาการของโรคจะแสดงออกมาสองลักษณะใหญ่ คือ ทางจิตและ
แพ้ยา
มีโรคตับหรือไต
1.ยานอนหลับและยาคลายกังวล
(Sedative-hyptonic and anxioloytic druges)
Sedative drugs = ยาที่ทำให้ง่วง สลึมสะลือ หรือมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นภายนอกน้อยลง
Hyptonic = ยาที่ทำให้หลับ
Anxiolytic drugs = ยาคลายกังวล
ความกังวล (anxietiy) = การตอบสนองเพื่อปรับกระตุ้นที่เป็นอันตราย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์
ยากลุ่ม Benzodiasepine
-ยานอนหลับ(hyptonic) เช่น flurazepam, temazepam, trisopam
-ยาคลายกังวล(anxiolytics) เช่น diazepam(valium), lorazepam, alprazolam
-ยาต้านชัก(anticonvulsant) เช่น clonazepam(Rivotril)
-ยาสลบ(anesthetic agent) เช่น midazolam(Dorrmicum)
ยากลุ่ม Barbiturates
กลไกและผล
จับกับ GABAA receptors ทำให้ receptors มีความสามารถในการจับกับ GABA และทำให้ Cl channels เปิดนานขึ้น
ประโยชน์ในการรักษา
มีการใช้น้อยลงไม่นิยมเป็นยานอนหลับหรือยาคลายกังวล เนื่องจากยาถูกแทนที่ด้วยกลุ่มยา benzodiazepine ที่
ใช้ thiopental ฉีดเข้าหลอดเลือดดำเพื่อเหนี่ยวนำให้สลบก่อนการผ่าตัด
ใช้ phenobarbitalb รักษาโรคชัก ออกฤทธิ์ยาว