Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ปกติอุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้ำประมาณร้อยละ 70-80
เป็นของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ
ตั้งแต่ 24-30 เดือนขึ้นไป ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง
Food intake
น้ำจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทำให้อุจจาระอ่อนตัว และยังช่วยกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ได้ดี ทำให้มีการถ่ายอุจจาระได้ง่ายขึ้น
Fluid intake
อาหารจำพวกพืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมากทำให้อุจจาระสามารถขับเคลื่อนได้ดีกว่าอาหารที่กากใยน้อย
Body movement
ช่วยทำให้การทางานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ ผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวได้น้อย หรือถูกจำกัดการเคลื่อนไหวจะทำให้การทำงานของลำไส้ลดลง
Emotion
ทำให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมน และการทำงานของระบบประสาท Sympatheticมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลง
Defecation habits
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน การรับประทานอาหาร น้ำ รวมทั้งการออกกาลังกาย และการพักผ่อนส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ
Opportunity
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่ายสถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้ำไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ และทำให้เกิดอาการท้องผูก
Medication
อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน
อาหารอาจทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
Pregnancy
ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย ทำให้จะไปเบียดกดลาไส้ส่วนปลายส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกเป็นประจำ และเกิดโรคริดสีดวงทวารในหญิงตั้งครรภ์
Pain
การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรงและการผ่าตัดหน้าท้องเมื่อปวดถ่ายอุจจาระ
ผู้ป่วยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทำให้อั้นอุจจาระไว้
Surgery and Anesthesia
ยาสลบชนิดทั่วไปเป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง
Diagnostic test
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะของอุจจาระปกติทั่วไปจะอ่อนนุ่มมีสีอยู่ระหว่าง เหลือง น้ำตาลอ่อนไปจนถึงน้ำตาลเข้มขึ้นอยู่กับอาหารที่รับประทาน
ลักษณะอุจจาระผิดปกติสามารถบ่งบอกโรคและพฤติกรรมสุขภาพได้
ลักษณะของอุจจาระช่วยบอกถึงการมีภาวะสุขภาพดีของระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ปกติคนทั่วไปถ่ายอุจจาระระหว่างสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ถึงวันละ 3 ครั้ง
ภาวะท้องผูก
หมายถึง การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาลำบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระ
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
สัมพันธ์กับการรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้ำ การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ฝิ่น หรือยาระงับปวดที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลำไส้และเกี่ยวข้องกับ
ความผิดปกติของประสาทที่ลำไส้ และการติดยาระบาย
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ภาวะผิดปกติของลำไส้ มีความสัมพันธ์กับภาวะท้องผูก
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ วิงเวียน
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร
แบคทีเรียในลำไส้
เปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร เป็นแอมโมเนีย ดูดซึมเข้า
กระแสเลือดไปยังสมองในผู้ป่วยโรคตับจะเกิดอาการ Hepatic encephalopathy
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง หรือผนังลำไส้หย่อนตัวเป็นถุง
สะสมอุจจาระไว้
พบในผู้ป่วยสูงอายุ หรือผู้ป่วยอัมพาต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
แนะนำให้ออกกาลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างกายจะมีผลต่อการบีบตัวของลำไส้ช่วยให้การถ่ายอุจจาระเป็นปกติ
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
การอัดแน่นของอุจจาระ
สาเหตุ อาการเริ่มแรก
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระ
เป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
เป้าหมายสำคัญของการพยาบาล
ช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกาย
โดยการล้วงอุจจาระ
ใช้ยาระบายเพื่อทาให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่น
สวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย
สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสำหรับใช่อุจจาระ
ภาวะท้องอืด
สาเหตุ
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมากเกินไป หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก
เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านร่างกาย
ทำให้มีอุจจาระไหลออกมาโดยไม่รู้ตัวจึงเกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและอาจเกิดแผลจากการระคายเคืองเสียดสีของผิวหนังบริเวณรอบรูทวาร
ผลด้านจิตใจ
เป็นเรื่องของความไม่สะอาดทั้งกลิ่นและสิ่งขับถ่าย อุจจาระจึงทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
ผลด้านสังคม
เมื่อการกลั้นอุจจาระไม่ได้ เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม หรือพบปะผู้คนโดยไม่มีเหตุจำเป็น จึงกลายเป็นคนแยกตัวออกจากสังคม
ผลด้านจิตวิญญาณ
สืบเนื่องด้วยผลกระทบด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ส่งผลให้ด้านจิตวิญญาณ
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง และขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนากลัวสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตนเองในอนาคต
ภาวะท้องเสีย
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
อาหารที่มีแมลงวันตอม
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย น้ำหนักลด มีอาการของภาวะการขาดน้ำ
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง
เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้และการถ่าย
อุจจาระหลาย ๆ ครั้ง
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
ชนิดของ Stoma ที่เป็นช่องทางขับถ่ายอุจจาระ
Colostomy
Ascending colostomy
นำส่วนต้นของลำไส้ใหญ่มาเปิดออกชนิดนี้จะ
ค่อนข้างใหญ่ อยู่ด้านขวาของหน้าท้องส่วนล่าง อุจจาระเป็นน้ำมีเนื้อปนเล็กน้อย
Transverse colostomy
นำส่วนขวางของลำไส้ใหญ่มาเปิดออก ส่วนใหญ่จะเป็นการเปิดแบบชั่วคราว อุจจาระที่ออกค่อนข้างเหลว
Sigmoid colostomy
นำส่วนปลายของลำไส้ใหญ่มาเปิดออก ส่วนใหญ่จะเปิดถาวรอยู่บริเวณหน้าท้องส่วนล่างด้านซ้าย
Ileostomy
เป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก ลำไส้ที่นำมาเปิดออกจะเป็นส่วนปลายของ
ลำไส้เล็กอยู่ที่หน้าท้องส่วนล่างด้านขวา มีทั้งชนิดที่เป็นรูเปิดเดียวและ2 รูเปิด
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เพื่อการรักษา
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลาไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้น
ให้มีการเคลื่อนไหวของลาไส้
Tap water enema (TWE)
เป็นการสวนเอาน้ำสะอาดเข้าในลำไส้
ไม่นิยมใช้
Soap sud enema (SSE)
เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำสบู่ผสมน้ำ
Normal saline solution enema (NSS enema)
เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 %
นิยมใช้ ในผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยที่มีลำไส้อักเสบ ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคหัวใจวาย หรือผู้ป่วยที่มีการ คั่งของเกลือโซเดียมในร่างกาย
Fleet enema
เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ำยาสำเร็จรูปคือสารละลาย
Hypotonic บรรจุในขวดพลาสติก
Oil enema
เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำมันพืช
นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีอุจจาระอุดตัน
Retention enema
Oil-retention enema
เป็นการสวนเก็บน้ำมัน
เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นให้ลำไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema
เป็นการสวนเก็บด้วยยา
เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกาย
ทางทวารหนัก
อุปกรณ์เครื่องใช้
หม้อสวน
หัวสวนอุจจาระ
สารหล่อลื่น
เช่น KY jelly
ชามรูปไต
กระดาษชำระ
กระโถนนอน
ผ้าปิดกระโถนนอน
ผ้ายางกันเปื้อน
สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
เหยือกน้ำ
เสาน้ำเกลือ
ถุงมือสะอาด 1คู่ และ Mask
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
การติดเชื้อ
การคั่งของโซเดียม
ภาวะ Methemoglobinemia
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
ลำไส้อุดตัน
มีการอักเสบของลำไส้
มีการติดเชื้อในช่องท้อง
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
ใบส่งตรวจ
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
หม้อนอน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
S
O
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจำ
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
ให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพเรื่องการโรคของระบบ
ทางเดินอาหารและลำไส้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล