Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา Diabetes millitus, นางสาวกฤษณา มาแก้ว รหัสนักศึกษา 602701004 -…
กรณีศึกษา Diabetes millitus
ทฤษฎีเกี่ยวกับโรค
สาเหตุ
ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้หรือผลิตได้
ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ หรือเกิดภาวะดื้ออินซูลิน
อาการ
ปัสสาวะบ่อยทั้งกลางวันและกลางคืน
กระหายน้ำ
อ่อนเพลีย และน้ำหนักลด
หิวบ่อย รับประทานเก่งขึ้น
คันตามตัว ติดเชื้อได้ง่าย เป็นเชื้อรา ตกขาวบ่อย
ตาพร่า เห็นภาพไม่ชัด เห็นภาพซ้อน
ปลายมือ ปลายเท้าชาอันเนื่องมาจากปลายประสาทเสื่อม
ความหมาย
โรคที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ โดยเกิดจากความผิดปกติของการใช้น้ำตาล ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ตามปกติ ทำให้มีระดับน้ำตาลสูงขึ้น
ชนิดของเบาหวาน
ประเภทที่ 1 เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ จึงต้องฉีดอินซูลินอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดอินซูลิน
ประเภทที่ 2 เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลิน ไปใช้ได้อย่างเพียงพอ และร่างกายเกิดภาวะดื้ออินซูลิน
ประเภทที่ 3 เป็นเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ (เบาหวานวินิจฉัยระหว่างไตรมาสที่ 2 หรือ 3 ของการตั้งครรภ์ โดยที่ไม่ได้เป็นเบาหวานก่อนหน้า)
ประเภทที่ 4 เป็นเบาหวานชนิดที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น ความผิดปกติของสารพันธุกรรม monogenic diabetes syndromeหรือ Maturity onset diabetes of the young [MODY], จากยา
ปัจจัย
กรรมพันธุ์
น้ำหนักเกิน ความอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว ขาดการออกกำลังกาย
อายุที่มากขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้มากขึ้น
โรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ได้รับการผ่าตัดตับอ่อน
ความเครียดเรื้อรัง
การตั้งครรภ์
พยาธิสภาพ : การเป็นเบาหวานทำให้เกิดความผิดปกติ โดยมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นที่หลอดเลือดทั่วร่างกายเนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดสูงทำให้มีน้ำตาลไปเกาะที่เม็ดเลือดแดง ส่งผลให้มีการปลดปล่อยออกซิเจนจากเม็ดเลือดแดงสู่เนื้อเยื่อลดลง เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดงตามมาทั้งหลอดเลือดขนาดใหญ่และหลอดเลือดขนาดเล็ก โดยทำให้เยื่อบุหลอดเลือดชั้นในได้รับอันตราย ต่อจากนั้นจะมีการซ่อมแซมเกิดขึ้น คือมีการรวมตัวของเกล็ดเลือดเพื่ออุดรอยที่ได้รับอันตรายนั้น ทำให้หลอดเลือดเกิดการอุดตัน โป่งพองหรือสร้างหลอดเลือดที่ไม่แข็งแรงขึ้นมาใหม่
วินิจฉัยโรค
มีอาการแสดงของเบาหวาน ร่วมกับค่าของน้ำตาลในเลือดเวลาใดก็ได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 200 mg/dl
มีน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหารและน้ำทางปาก เป็นเวลา 8 ช.ม. โดยมีค่าน้ำตาลในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 126 mg/dl
การตรวจ Glucose tolerance test มีระดับน้ำตาลในชั่วโมงที่ 2 มากกว่าหรือเท่ากับ 200 mg/dl
ข้อมูลผู้ป่วย
นางบุญมี กางโสภา อายุ 67 ปี
การวินิจฉัยโรค :Diabetes millitus
อาการ : เหนื่อยอ่อนเพลียง่าย
ปัสสาวะบ่อยในเวลากลางคืน 4-5 ครั้ง
น้ำหนักลดลง 5 kg ใน 2 เดือน
มีอาการคอแห้ง กรหายน้ำบ่อย
ประวัติการเจ็บป่วย : 1ปีก่อนมีอาการเบื่ออาหาร
ปัสสาวะบ่อย ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
น้ำหนักลดลง 5 kg ใน 2 เดือน
ตรวจ FBS 422 mg/dl (15 พฤศจิกายน 2562)
แพทย์วินิจฉัยเป็น DM รับการรักษาที่
รพ.นาเชือกโดยการกินยาสม่ำเสอ
ข้อวินิจฉัย
ผู้ป่วยดูแลตนเองไม่ถูกต้องเนื่องจาก
บกพร่องความรู้ในการดูแลตนเอง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนําให้สังเกตอาการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอาการใจสั่น เหงื่อออกมาก สั่น ตัวเย็น ซีด หิ ว กระวนกระวาย ความรู้สึกตัวลดลง สับสน อาจหมดสติ หากมีอาการดังกล่าวให้รีบดื่มน้ำหวานหรืออมทอฟฟี่ทันที
แนะนำอาหารที่รับประทานได้แต่จํากัดปริมาณและชนิด ได้แก่ อาหารพวกแป้ง
แนะนำอาหารที่ควรงดรับประทาน ได้แก่ขนมหวาน น้ำอัดลม
อาหารรับประทานได้ไม่จํากัดจํานวน ได้แก่ ผักใบเขียวทุกชนิด
ออกกาลังกายโดยการกระดกส้นเท้า, ปลายเท้า การยก
และกางแขนขาออกวันละประมาณ 20 นาที
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคได้
ผู้ป่วยมีความรู้ในการออกกาลังกาย
ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของโรค
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยเล่าวาชอบรับประทาน ขนมหวานและ
ผลไม้ที่มีรสหวาน เช่น ขนุนและน้อยหน่า และสามี
ของผู้ป่วยบอกวาผู้ป่วยไม่ได้ออกกาลังกาย
O: ผู้ป่วยไม่ทราบและตอบคําถามไม่ได้
เกี่ยวกับการดูแลตนเองและภาวะแทรกซ้อน
การประเมินผล : ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเองในด้านการรับประทานอาหาร ผลไม้ที่เหมาะสมกบโรค การดูแล เท้า การออกกาลังกาย การ
ป้องกนตนเองจากภาวะแทรกซ้อนของโรค
เสี่ยงต่อภาวะช็อกเนื่องจากระดับ
น้ำตาลในเลือดสูงHypergycemai
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการใจสั่น กระหายน้ำ เบื่ออาหาร
O: ผลระดับน้ำตาลในเลือด 422 mg/dl (15 พฤศจิกายน 2562)
แพทย์วินิจฉัยเป็นน้ำตาลในเลือดสูง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้รับประทานยาตามแพทย์สั่ง
แนะนำห้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม
แนะนำให้ลดอาหารหวาน มัน เค็ม
แนะนำให้ผู้รับบริการมาตรวจตามนัด
สังเกตและบันทึกอาการเกี่ยวกับระดับความรู้สึกตัวและภาวะน้ำ
ตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
เกณฑ์การประเมินผล
ระดับน้ำตาลในเลือดอยูในเกณฑ์ปกติ คือ 70-110 mg/dl
ไม่มีอาการของน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย
กระหายน้ำ น้ำหนักลด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน
หอบ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึมลง หมดสติ
การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะช็อกจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง
นางสาวกฤษณา มาแก้ว รหัสนักศึกษา 602701004