Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่าย
Age อายุ
Food intake ชนิดอาหารที่ได้รับ
Fluid intake ปริมาณน้ำในร่างกาย
Body move ment การเคลื่นไหวร่างกาย
Emotion อารมณ์
Defecation habits ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย
Opportunity ความเหมาะสม
Medication ยา
Pregnancy การตั้งครรภ์
Pain อาการปวด hemorrhoid โรคริดสีดวง
การตรวจวินิจฉัยโรค
การผ่าตัดและการดมยาสลบ
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ชนิดของอุจจาระ
type1 ลักษณะแข็งคลายเมล็ดถั่ว
type2 ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน
type3 ลักษณะยาวหรือขดม้วน
type4 ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม
type5 ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากกัน
type6 ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ
type7 ลักษณะเป็นน้ำไม่เนื้ออุจจาระปน
สีของอุจจาระ
เด็ก
ปกติ สีเหลือง
ผิดปกติ สีขาว หรือคล้ายดิน
ผู้ใหญ่
ปกติ สีน้ำตาล
ผิดปกติ ดำ แดง ซีดและมันเยิ้ม
กลิ่นของอุจจาระ
ปกติ มีกลิ่นเฉพาะจากอาหาร
ผิดปกติ กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก
ลักษณะ
ปกติ อ่อนนุ่ม
ผิดปกติ เหลว แข็ง
ความถี่การขับถ่าย
เด็ก
ปกติ นมธรรมดา วันละ 4-6 ครั้ง ผิดปกติ วันละ 1-3 ครั้ง
ผิดปกติ มากกว่า 6 ครั้ง หรือน้อยกว่า 1-2 ครั้ง
ผู้ใหญ่
ปกติ วันละ 2 ครั้ง หรือสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
ผิดปกติ มากกว่า 3 ครั้ง หรือสัปดาห์ละครั้ง
รูปร่างๆ
ปกติ ขนาดเท่ากับกับความกว้างของลำไส้ตรง
ขนาดเล็กคล้ายดินสอ
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก
อุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง
ถ่ายอุจจาระน้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
หรือไม่ถ่ายอุจจาระติดต่อกัน 3 วัน
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้ำ
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
ความเจ็บปวดหรือการรักษาด้วยยา
การอุดกั้นขอระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
การเคลื่อนไหวของลำไส้
ผลที่เกิดภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง
เกิดอาการปวดปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น
เป็นโรคริดสีดวงทวาร
อุจจาระอัดเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอจจาระไม่ได้
การพยาบาลที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้เพียงพอ
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
ควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
การอัดแน่นของอุจจาระ
สาเหตุ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนาน
น้ำเหลวไหลซึมทางทวารหนักทีละเล็กน้อยควบคุมไม่ได้
การพยาบาลผู้ป่วย
การล้างอุจจาระและอาจจะใช้ยาระบายเพื่อทำให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่ม
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด หน้ากากอนามัย
สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น
ผ้ายางรองก้น กระดาษชำระ หม้อนอน ถึงพลาสติก
วิธีปฎิบัติ
บอกวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยทราบ
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ ขาขวา งอเล็กน้อย
ปูผ้ารอง วางหม้อนอนหรือถุงพลาสติกไว้ใกล้
พยบาลสวมถุงมือให้นิ้วชี้หล่อลื่อด้วยเจลหล่อลื่น บอกให้ผู้ป่วยให้รู้ตัวก่อนสอดนิ้วชี้เข้าทวารหนัก
ล้วงอุจจาระออกใส่ในหม้อนอน
เช็ดทำความสะอาด จัดเสื้อผ้าให้เรียบร้อย ทำความสะอาดเครื่องมือ และบันทึกการพยาบาล
ภาวะท้องอืด
สาเหตุ
อาหารไม่ย่อย
แก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้มีมาก
ไม่ได้ขับถ่ายตามปกติ
ความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
การพยาบาลผู้ป่วย
จัดท่านอนศีรษะสูง 45-60 องศา
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัว
ค้นหาสาเหตุและให้การช่วยเหลืออาการท้องอืด
ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวหรือความสามรถในการขยับตัว
อธิบายการปฏบัติตัวที่ถูกต้อง กระตุ้นและช่วยเหลือเคลื่อนไหวร่างกาย
การใส่สายทางทวารหนัก พิจารณาการใช้ยา
จากได้รับยะงับปวดที่มีอาการข้างเคียง
สังเกตอาการท้องอืด ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู
พิจาณาให้ยารับงับปวดตามความจำเป็น
จากอาหารไม่ย่อย
สังเกตอาการท้องอืด ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
ผลการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านร่างกาย
ไม่สามารถควบคุมการถ่ายอุจจาระได้ จึงทำให้มีอุจจาระไหลออกมาแบบไม่รู้ตัว
ผลด้านจิตใจ
เกิดความสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
ผลด้านสังคม
เรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม หรือพบปะผู้โดยไม่มีเหตุจำเป็น
ผลด้านจิตวิญญาณ
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง กลัวสิ่งที่จะเกิด
การพยาบาลผู้ป่วย
การดูแลจิตใจเป็นสิ่งที่สำคัญ
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ
ดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง
ภาวะท้องเสีย
สาเหตุ
อาหารที่มีการปนเปื้อน
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียง
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่
เกิดความไม่สุขบาย ปวดท้อง
การพยาบาล
ประเมิณสภาพผู้ป่วย
ให้ความช่วยเหลือการดูแลการขับถ่าย
ดูแลเรื่องอาหาร
ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน อาการขาดน้ำเหลือแร่
สังเกตความผิดปก สังเกตลักษณะอุจจาระ บันทึก
ส่งเสริมการนอนหลับและการป้องการแพร่กะจายเชื้อ
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ทางหน้าท้อง เรียกว่า “Colostomy”
ผ่าตัดเปิดลำไส้เล็กทางหน้าท้อง เรียกว่า “Ileostomy”
บริเวณรูเปิดลำไส้ส่วนที่โผล่พ้นผิวหนังเรียกว่า “Stoma”
การพยาบาลผู้ป่วย
การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้ และผิวหนังรอบ ๆ หลังผ่าตัด 7-10 วัน แผลผ่าตัดจะเริ่มติดดี และเริ่มมีอุจจาระออกทาง
Stoma ให้ใช้สำลีสะอาด และน้ำต้มสุกทำความสะอาด Stoma และผิวหนังรอบ ๆ แล้วซับให้แห้ง หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์แผลจะยุบบวมและมีขนาดคงที่ ระยะนี้สามารถทำความสะอาดด้วยน้ำ และสบู่อ่อน แล้วซับให้แห้ง
การปิดถุงรองรับอุจจาระ เมื่อทำความสะอาด Stoma และผิวหนังรอบ ๆ แล้ว ต้องปิดด้วยถุงรองรับอุจจาระเพื่อป้องกันผิวหนังรอบ ๆ สัมผัสกับอุจจาระที่ผ่านออกจากลำไส้ ทำให้ระคายเคือง และเป็นแผลได้ง่าย
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม การออกกำลังกายและการทำงาน การฝึกหัดการขับถ่าย โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
ลำไส้ที่เปิดออกมาทำหน้าที่ระบายอุจจาระออกมามีถุงรองรับ เมื่อต้องเปลี่ยนถุงรองรับ ด้วยการดึงถุงที่มีกาวติดกับผิวหนังออก แล้วใช้ลำสีสะอาดชุบน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาดStoma ก่อน แล้วเช็ดผิวหนังรอบ ๆ ให้สะอาด เช็ดด้วยสำลีแห้ง แล้วปิดถุงใหม่ลงไป
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ เตรียมคลอด
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้ำสะอาดเข้าในลำไส้ ไม่นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะอิเล็กโตรไลต์ไม่สมดุล
Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำสบู่ผสมน้ำใช้น้ำสบู่
Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ป่วยเด็ก ผู้ปำวยที่มีลำไส้อักเสบ
Fleet enema เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ำยาสำเร็จรูปคือสารละลายHypotonic บรรจุในขวดพลาสติก
เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำมันพืช นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีอุจจาระอุดตัน
Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ
Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ำมัน
Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา
อุปกรณ์เครื่องใช้
หม้อสวน หัวสวนอุจจาระ สารหล่อลื่น ชามรูปไต
กระดาษชำระ กระโถนนอน ผ้าปิดกระโถนนอน ผ้ายางกันเปื้อน สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
เหยือกน้ำ เสาน้ำเกลือ ถุงมือสะอาด และ Mask
วิธีปฏิบัติ
การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน นำเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน
ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ป่วย จัดท่านอนให้ถูกต้อง คือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย
ล้างมือ สวมถุงมือ และต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น ปิด Clamp หัวสวนไว้ เทน้ำยาใส่หม้อสวน แขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ปุวย 1 ฟุต เหนือจากระดับที่นอน
เปิด Clamp เพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวน ปิด Clamp หัวสวน หล่อลื่นหัวสวนด้วย KY jelly ไล่อากาศเพื่อทดสอบว่าหัวสวนไม่อุดตัน บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการสวนอุจจาระ
สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 3 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้จับหัวสวนให้แน่กระชับมือ เปิด Clamp ให้น้ าไหลช้า ๆ
ค่อย ๆ ดึงสายสวนออกเบา ๆ ปลดหัวสวนออก ห่อด้วยกระดาษชำระวางใน ชามรูปไต สอด Bed pan กั้นม่านให้มิดชิด หลังถ่ายเสร็จใช้ Bed pad ปิดคลุม Bedpan
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาดให้เรียบร้อย ลงบันทึกทางการพยาบาล
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสม
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ
ท่านอนของผู้ป่วย
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือ
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
การติดเชื้อ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด ใบส่งตรวจ
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ กระดาษชำระ หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง
วิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ระวังการปนเปื้อนปัสสาวะ น้ำ และสิ่งปนเปื้อนอื่น
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที ลงบันทึกทางการพยาบาล
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
. การประเมินผลการพยาบาล