Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล, นางสาวอมรทิพย์ รัตชาตา รหัส 622701093 - Coggle…
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ความหมาย ความสำคัญและองค์ประกอบ
ความสำคัญ
ติดต่อหลาย ๆ ครั้งต่อเนื่องกัน
ไม่จำเป็นต้องมีจุดประสงค์
ความหมาย
การติดต่อสื่อสารตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
เกิดขึ้นจากการรู้จักคุ้นเคยกัน
เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันและกัน
มโนทัศน์การสร้างสัมพันธภาพ
ความรักและความเอาใจใส่
ความรัก เป็นปัจจัยพื้นฐานอันดับแรกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม
ความเอาใจใส่ ให้ความอบอุ่นและความมั่นคงทางด้านจิตใจ
ความห่วงใย ร่วมแก้ปัญหาและช่วยเหลือ
การเข้าถึงความรู้สึกของบุคคลอื่น
การเข้าถึงความรู้สึก Empathy
ความเห็นอกเห็นใจ Sympathy
การยอมรับ
ความเชื่อใจ
Erikson เชื่อว่า เป็นผลมาจากการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในวัยเด็กโดยเฉพาะมารดากับเด็ก
ความเป็นตัวของตัวเอง
สัมพันธภาพเชิงสังคม
ความต้องการพื้นฐานที่จะได้รับความรักใคร่ มีเพื่อน ได้รับการยอมรับ
สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
มีเป้าหมายเฉพาะเจาะจง มีการวางแผน มีวุตถุประสงค์
แนวคิด หลักการและทฤษฎี
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
แฮรี่ สแต็ก ซัลลิแวน
บุคคลจะอยู่อย่างปกติสุขต้องอาศัยสัมพันธภาพระหว่างบุคคลอื่น
ในวัยเด็กได้พัฒนาบุคคลิกภาพส่วนบุคคล
Good me
Bad me
Not me
ทฤษฎีวิเคราะห์การสื่อสารระหว่างบุคคล
หลักการของ โจ แฮรี่
รู้จุดเด่นจุดด้อยขอองตนเอง
บริเวณเปิดเผย ผู้อื่นรู้ ตัวเองรู้
บริเเวณจุดบอด ผู้อื่นรู้ ตนเองไม่รู้
บริเวณซ่อนเร้น ตนเองรู้ ผู้อื่นไม่รู้
บริเวณอวิชชา ตนเองไม่รู้ ผู้อื่นไม่รู้
พัฒนาการและการถ่ายทอด
วัยทารก
แรกเกิด-1 ปี
เรียนรู้การพึ่งพาผู้อื่น
วัยเด็กเล็ก
1 ปีครึ่ง-6 ปี
ต้องการความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่
วัยเด็ก
6-9 ปี
ต้องการการยอมรับจากเพื่อนและเพศเดียวกัน
วัยก่อนเรียน
9-12 ปี
ต้องการการยอมรับจากเพื่อนต่างเพศและบุคคลอื่น ๆ
วัยรุ่นตอนต้น
12-14 ปี
เรียนรู้การเป็นอิสระ ทะเเยออทะยาน วิตกกังวล
วัยรุ่นตอนปลาย
14-21 ปี
เรียนรู้การพึ่งพากันและกัน
การนำทฤษฎีการสร้างสัมพันธภาพไปใช้
เบค, รอย์ลินส์, และวิลเลียมส์
การทำจิตบำบัด
ในกการสร้างสัมพันธภาพความวิตกกังวลมักเกิดดขึ้นเสมอ
ความวิตกกังวลเกิดขึ้นทุกแบบในการพบปะสังสรร
บุคคลมีความต้องการทางด้านสรีระ
เมื่อความเงียบเหงาเกิดขึ้น จะเกิดการป้องกันตัวเอง
ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล
ดร.อีริค เบิร์น
บุคลิกภาพที่คล้ายผู้ปกครอง
บุคลิกภาพที่คล้ายกับผู้ใหญ่
บุคลิกภาพที่คล้ายเด็ก
การวิเคราะห์โครงสร้างบุคลิกภาพของบุคคล
ลักษณะที่เหมือนพ่อแม่
ลักษณะพ่อแม่แบบดุ CP
ลักษณะพ่อแม่ใจดีเอื้อเฟื้อ NP
ลักษณะที่เป็นผูู้ใหญ่ A
ลักษณะที่เป็นเด็ก C
ลักษณะที่เป็นเด็กตามธรรมชาติ FC
ลักษณะที่เป็นเด็กได้รับการขัดเกลา AC
ลักษณะที่เป็นเด็กมีความคิด LC
การวิเคราะห์การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล
ชนิดของการติดต่อสื่อสาร
แบบไม่ขัดแย้ง
แบบขัดแย้ง
แบบแฝงนัยยะ
การวิเคราะห์ตำแหน่งชีวิต
I m OK You re OK
I m OK You re not OK
I m not OK You re OK
I m not OK You re not OK
นางสาวอมรทิพย์ รัตชาตา รหัส 622701093