Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CBL : Newborn, Brown fat น้อย - Coggle Diagram
CBL : Newborn
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
ควบคุมอุณหภูมิ
1.ปรับระดับอุณหภูมิห้องคลอด 26-28 C
2.เปิดเครื่อง Radiant Warmer ก่อนคลอด 15 นาที ภาวะคลอดปกติ ตั้งค่าRadiant Warmer อุณหภูมิ 36.5 C
3.ผ้ารับเด็กอยู่ใน set ผ้ารับเด็กเปิดเตรียมใต้Radiant warmer
4.ปิดแอร์ทันทีเมื่อศีรษะทะลุผ่านช่องคลอดของมารดา
เพื่อรักษาอุณหภูมิร่างกายของทารกที่จะสูญเสียความร้อน
แบบการพาความร้อน
5.นำผ้าที่อุ่นใต้ Radiant Warmer เช็ดตัวเด็กแล้วนำผ้าเปียก
เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนแบบการนำความร้อน
6.เช็ดตัวทารกทันทีแรกเกิดหลังจากการช่วยเหลือเบื้องต้นนำทารกที่เปลือยไปให้แม่ เพื่อทำ Skin to skinเพื่อสร้าง Bonding and Attachment พร้อมนำผ้าอุ่นห่อตัวทารกให้ทารกดูดนมแม่ห้าถึง 10 นาที
การทำหัตถการ ตกแต่งสายสะดือ การผูกป้ายข้อมือให้ถูกชื่อ-นามสกุล เพศ เวลาเกิด ทำภายใต้เรเดียนวอร์มเมอร์ เพื่อ keep อุณหภูมิของทารกไว้
ตรวจร่างกายทั่วไป ดูความพิการแต่กำเนิด วัดความยาวลำตัว รอบอก รอบศรีษะรวมถึงการป้ายตา โดยทำใต้เครื่องเรเดียนวอร์มเมอร์
หลังคลอด 2 hr
ดูแลทารกโดยวัด V/S ทุก 30 นาทีจำนวน
2 ครั้งและ 1 ชั่วโมงจำนวน 1 ครั้ง
ดูแลทารกไม่ให้นอนแช่ปัสสาวะหรืออุจจาระเพื่อ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนจากการระเหย
วัดอุณหภูมิกายทางทวารหนักโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะแก้ว สอดปรอทลึก 3 เซนติเมตร นาน 3 นาที
โดยใช้โดยใช้ปรอททาวาสลินก่อนสอดทางทวาร
การดูแลป้ายตาทารก
เช็ดตาทันทีด้วย 0.9 % NSS
หยอดตาด้วย 0.1 % AgNO3 ที่หัวตาข้างละ 1 หยด
หรืออาจใช้ terramycin eye ointment ป้ายตาทั้ง 2 ข้าง
เพื่อป้องกันการติดเชื้อหนองใน
เช็ดตาอีกครั้งด้วย 0.9 % NSS
เพื่อลดการระคายเคืองจากผิวหนังรอบๆ
การดูแลสายสะดือ
70%Alcohol เช็ดรอบๆโคนสะดือ แล้วเช็ดขึ้นไปหาขั้วสะดือ
ห้ามใส่แป้งและยาโรยสะดือ
การฉีดยา
Vitamin K1
(0.5-1 mg)
IM ต้นขาหน้า
ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
ลดbleeding
HBIG
(0.5 ml)
มารดาไม่เป็นพาหะ
Active Immunization 0.5 ml
ฉีด IMต้นขาหน้า
ลดความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อและก่อเชื้อไวรัสตับอักเสบบีได้
มารดาเป็นพาหะ
Hepatitis B Immunoglobulin (HBIG) ให้ 0.5 ml
BCG
(0.1 ml)
Intracutaneousส่วนล่าง
Deltoid
ป้องกันวัณโรค
การซักปะวัติเพิ่มเติมจากมารดา
การเจริญพันธ์
ประจำเดือน
อายุที่เริ่มมีประจําเดือน
ลักษณะประจำเดือน
วงรอบของการมีประจําเดือน เช่น ความถี่ ระยะเวลา ปริมาณ
อาการปวดประจําเดือน
การคุมกำเนิด
วิธีการคุมกําเนิด
ประวัติสตรีตั้งครรภ์
ซักประวัติส่วนบุคคลและสังคม
ช่ือ-สกุล อายุ
ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์
สถานภาพสมรส
การสูบบุหรี่หรือสารเสพติด
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
โรคประจำตัวหรือภาวะผิดปกติที่เคยเป็น
โรคติดตอ่ทางเพศสัมพันธ์
ประวัติการผ่าตัดเหี่ยวกับระบบสืบพันธุ์
ประวัติการใช้ยาในขณะตั้งครรภ์
โรคทางพันธุกรรม
ประวัติทางสูติกรรม
ภาวะ︎เบาหวานขณะตั้งครรภ์
PIH
การตรวจร่างกายทั่วไป
ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
วัดความดันโลหิต
ฟังเสียงการหายใจและเสียงหัวใจ
วัดความสูงของยอดมดลูกและขนาดท้อง
ดูลักษณะเต้านมมารดา
การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาหมู่เลือด ABO and Rh
การตรวจซิฟิลิส การติดเชื้อ HIV
CBC
โรคทางพันธุกรรม
(OF หรือ MCV ︎DCIP ︎และ typing
Thalassemia
น้ำตาลในปัสสาวะ
DM
โปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ
การประเมิน Apgar score 7 คะแนน
รูป
การพยาบาล
กระตุ้นการหายใจด้วยการใช้นิ้วมือดีหรือกดฝ่าเท้าทารกหรือใช้ผ้าถูหน้าอกบริเวณ Sternum หรือหลังให้ออกซิเจนผ่านหน้ากากที่ถือเหนือหน้าทารกด้วยอัตราการไหลของออกซิเจน4 ลิตรต่อนาที
5-7 (MID ASPHYXIA)
การตรวจร่างกาย
ปกติ
รอบอก 32 cm (ปกติ<เส้นรอบศรีษะ 2 cm)
ความยาว 50 cm (ปกติ 50 cm)
ผิวหนังเห็นเส้นเลือดเล็กนอ้ย มีขนอ่อนที่หลังและไหล่
ลายฝ่าเท้าประมาณ2/3จากปลายเท้า
หัวนมมีขนาด 3-4 mm
ใบหูคืนกลับเมื่อพับหู
แคมใหญ่มีขนาดเท่ากับแคมเล็ก
แขนขาแบะออก แขนงอเล็กน้อยวัดมุมข้อมือได้45องศา เข่างอเล็กนอ้ย
อุณหภูมิกาย 37.2 ◦c (ปกติ36.5-37.5◦c) (เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์,2559)
Moro reflex ทารกมีการผวา
ผิดปกติ
เส้นรอบศีรษะ 33 cm (ปกติ 35-+2 cm
ศีรษะเล็กอาจเกิดจากมารดาไม่ได้รับการฝากครรภ์จึงทำให้เป็นสาเหตุที่ทำให้ทารกติดเชื้อไวรัสตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เช่นไวรัสหัดเยอรมัน, CMV, การได้รับยาหรือสารเคมีที่ส่งผลต่อการพัฒนาของสมอง
-ปัจจัยทางพันธุกรรมด้วยหากบิดามารดามีศีรษะที่เล็ก ทารกก็อาจจะมีศีรษะเล็กตามพันธุกรรม
มีจุดสีขาวบริเวณจมูกด้านซ้าย(Milia)
เกิดจากการสะสมของเคราติน หรือโปรตีน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ผลิตมากเกินไป ทําให้น้ามันและเซลล์ผิวที่ตายแล้วดันรูตันรูขุมขนของผิวทารก
คําแนะนํา
อธิบายให้มารดาเรื่องติ่งเนื้อนี้ว่าเกิดจากความผิดพลาดระหว่างที่หูกำลังเจริญเติบโตตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์ช่วง 5 – 6 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ ซึ่งจะพบได้เมื่อเด็กคลอด อาจปวดบวมได้
มารดาต้องคอยสังเกตความผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดขึ้น หากมีความผิดปกติควรรีบพบแพทย์
RR = 62 bpm
-ดูให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (36.9-37.1◦c)
-ติดตามสัญญาณชีพ สังเกตบันทึกการหายใจ
-จัดท่าทารกให้ลำคอเหยียดตรง
-ติดตามค่าออกซิเจนในเลือด
คำแนะนำ
แนะนำมารดาให้คอยสังเกตการหายใจของทารกว่ามีอาการหายใจเหนื่อยหอบหรือไม่
หายใจเร็ว
อายุครรภ์ของทารก
GA 37 wks
ประเมินด้วย
Ballard Maturational Score
รูปตาราง
Neuromuscular Maturity
2.Square Window
3.Arm Recoil
4.Politeal Angle
5.Scarf Sign
6.Heel to Ear
1.Posture
น้ำหนักแรกคลอด 2580 กรัม
ตาราง
Brown fat น้อย
Metabolism เพิ่ม
O2ลด
มีสาร Surfactantน้อย
Respiratory distress
RR เพิ่ม