Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
10.1 ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ส่วนประกอบเป็นน้ำประมาณร้อยละ 70-80 ส่วนที่เป็น
ของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
โดยทั่วไปความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระมักเกิดขึ้นเมื่อตื่นนอนหรือหลังมื้ออาหาร ทั้งนี้
เป็นเพราะการตื่นนอนและการลุกขึ้นเดินทำให้ลำไส้มีการเคลื่อนตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
10.2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
10.2.1 อายุ (Age) ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุ
10.2.2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake) อาหารจ าพวกพืชผัก ผลไม้ ที่
มีกากใยมาก
10.2.3 ปริมาณน้ าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake) น้ าจะเป็นตัวส าคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง
10.2.4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติ
10.3 ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type 1
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 3
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 4
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 7
(ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
10.4 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
1
0.4.1 ภาวะท้องผูก (Constipation)
การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้อง
ออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาลาบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระ
10.4.1.1 สาเหตุ ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
2) ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
อาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา
10.4.1.2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
1) เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
4) แบคทีเรียในลาไส้ จะเปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร
10.4.1.3 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
1) แนะนาให้ความรู้และเน้นความสาคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
2) แนะนาและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
3) แนะนา กระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้าให้เพียงพอ
4) แนะนาและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่าย
อุจจาระให้เป็นเวลา
10.4.2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
10.4.2.1 สาเหตุ อาการเริ่มแรก
คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระเป็นน้าเหลวไหวซึมทางทวารหนัก
10.4.2.2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
10.4.2.3 การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
คือ การล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ปุวยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้
10.4.3 ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
10.4.3.1 สาเหตุ
1) มีการสะสมของอาหารหรือน้ามาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมากเกินไป หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
2) มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ปริมาณมาก
3) มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
4) ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
10.4.3.2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
1) จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อยตัว ปอดขยายตัวได้ดีขึ้นลดอาการแน่นหน้าอกและทาให้หายใจสะดวก
2) อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด แสดงความเห็นอกเห็นใจและให้กาลังใจ
3) ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
10.4.4 การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
10.4.4.1 ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
1) ผลด้านร่างกาย
เนื่องด้วยการขับถ่ายอุจจาระที่ควบคุมไม่ได้ จึงทาให้มีอุจจาระไหลออกมาโดยไม่รู้ตัว
2) ผลด้านจิตใจ
นื่องด้วยอุจจาระเป็นเรื่องของความไม่สะอาดทั้งกลิ่นและสิ่งขับถ่าย อุจจาระจึงทาให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
3) ผลด้านสังคม
เนื่องด้วยการถ่ายอุจจาระ เป็นเรื่องส่วนตัวที่ต้องควรระมัดระวัง เมื่อการกลั้นอุจจาระไม่ได้ เป็นเรื่องน่าอับอาย
4) ผลด้านจิตวิญญาณ
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง และขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
10.4.5 ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
10.4.5.1 สาเหตุของภาวะท้องเสีย
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค เช่น อาหารที่มีแมลงวันตอม เป็นต้น
2) จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์
10.4.5.2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
1) เกิดภาวะเสียสมดุลน้าและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance)
สูญเสียทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย
2) เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้และการถ่ายอุจจาระหลาย ๆ ครั้ง
10.5 การสวนอุจจาระ
10.5.1 วัตถุประสงค์
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
2) เตรียมตรวจทางรังสี
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
10.5.2 ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด
10.5.2.1 Cleansing enema เป็นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลาไส้
1) Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้าสะอาดเข้าในลาไส้
2) Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้าสบู่ผสมน้า
3) Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ปุวยเด็ก
10.5.2.2 Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ายาเข้าไปเก็บไว้ในลาไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml. ที่นิยมใช้มีดังนี้
1) Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ามัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นให้ลาไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
2) Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกายทางทวารหนัก
10.6 ข้อคานึงในการสวนอุจจาระ
1) อุณหภูมิของสารน้า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
2.1 เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
2.2 เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
2.3 เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml
3) ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า (Sim’s position)
4) แรงดันของสารน้าที่สวนให้แก่ผู้ปุวย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
5) การปล่อยน้า เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว
10.6.1 อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
1) การระคายเคืองต่อเยื่อบุลาไส้
2) ผนังลาไส้ถลอก หรือทะลุ
3) ภาวะเป็นพิษจากน้า (Water intoxication)
4) การติดเชื้อ เช่นลาไส้อักเสบ ตับอักเสบ
5) การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลาไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
10.6.2 ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระมีข้อห้ามที่ไม่ควรทาในผู้ปุวยต่อไปนี้
1) ลาไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
2) มีการอักเสบของลาไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นต้น
3) มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
4) ผู้ปุวยภายหลังผ่าตัดลาไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
10.7 การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
10.7.1 ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ เช่น ผู้ปุวยมะเร็งลาไส้ ผู้ปุวยมีพยาธิปากขอ
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนาไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
10.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S: “ทานยาระบายก่อนนอนเป็นประจาทุกคืน ไม่ชอบอาหารประเภทผัก และผลไม้”
O: จากการตรวจร่างกาย พบAbdomen: Distension, Tympanic sound, Decreasebowel sound 1-2 time/min
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจา
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
แนะนาให้ความรู้และเน้นความสาคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
ตัวอย่าง
หญิงไทยรายหนึ่ง อายุ 35 ปี ให้ประวัติว่ามีอาการท้องผูกต้องใช้ยาระบายก่อนนอนเป็นประจาทุกคืน และมีพฤติกรรมไม่ชอบรับประทานผักและผลไม้ ดื่มน้าน้อยวันละไม่ถึง 1,000 ml.