Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระ (Defecation)
ลำไส้ใหญ่ทำหน้าที่สะสมกากอาหารและดูดซึมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย(น้ า แร่ธาตุ วิตามิน และกลูโคส)ออกจากกากอาหาร ทำให้กากอาหารเหนียวและข้นจนเป็นก้อนแข็ง
ลำไส้จะบีบตัวเพื่อให้กากอาหารเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลำไส้ตรง และขับถ่ายสู่ภายนอกร่างกายทางทวารหนัก ที่เรียกว่า อุจจาระ
เป็นกระบวนการของร่างกายในภาวะปกติ ที่ขับของเสียอันเกิดจากการย่อยอาหาร
Reflex
เมื่อรับประทานอาหารท าให้เกิดการยืดขยายของล าไส้ส่วนต้น เกิดเคลื่อนไหวแบบPeristalsisบีบก้อนอาหาร และขับอุจจาระออกไป
ถ้าอุจจาระเคลื่อนตัวจากSigmoidจนถึงRectumจะเกิดการปวดถ่ายอุจจาระเป็นสัญญาณเตือน
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะของอุจจาระปกติ
ลักษณะอ่อน มีรูปร่าง
สำหรับเด็กเล็กอุจจาระอาจจะเป็นสีเหลืองเข้มขึ้นอยู่กับชนิดของอาหารที่รับประทาน
อุจจาระปกติมีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงน้ำตาลเข้ม
การที่อุจจาระมีสี เกิดจากน้eดี (Bile) ถ้าไม่มีการขับน้eดีเข้าสู่ลeไส้จะทำให้อุจจาระมีสีซีด
ลักษณะอุจจาระผิดปกติ
อุจจาระเป็นสีดำ มีกลิ่นแรง ร่วมกับอาการปวดท้องเกิดจากความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งอาจเกิดเลือดไหลจากกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก หรือลำไส้ใหญ่
เลือดออกบริเวณทางเดินอาหารส่วนบนเ มื่ อ ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ย่ อ ย แ ล้ ว จ ะเปลี่ยนเป็นสีดำสนิท เหนียว มีกลิ่นฉุน เรียกว่า “ Melena ”
อุจจาระมีเลือดสดปนออกมา
อุจจาระมีลักษณะแข็งเมื่อขับถ่ายจะขูดบาดเนื้อเยื่อ หรือการปริขาดของเนื้อเยื่อ มักพบในผู้ที่มีอาการท้องผูก แผลสามารถหายเองได้ แต่ถ้ายังคงท้องผูก หรือท้องเสียมาก อาจทำให้เป็นแผลเรื้อรัง
อุจจาระเป็นก้อนเล็กๆ แข็ง แห้ง
เกิดจาก การขาดน้ำและกินอาหารที่มีกากใยน้อย มักพบในผู้ป่วยท้องผูกเป็นเวลานาน หรือเกิดจากอารมณ์เปลี่ยนแปลง อากาศร้อนจัดทำให้สูญเสียน้ำออกทางผิวหนังเกิดภาวะขาดน้ำในระบบทางเดินอาหาร
อุจจาระมีเลือดสดและคันก้น
โรคริดสีดวงทวาร ถ้าไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือไม่รักษาจะมีหัวริดสีดวงที่อักเสบโผล่ออกมาทางปากทวารหนัก ทำให้เจ็บปวดมาก
อุจจาระเป็นสีขาวซีดเหมือนสีขี้เถ้า
เกิดจาก การอุดตันของทางเดินท่อน้ำดี ทำให้น้ำดีไม่สามารถเข้าสู่ลำไส้ได้ มักพบในคนที่เป็นนิ่ว หรือเนื้องอกในท่อน้ำดี หรือมีความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดร่างกายไม่สามารถผลิตน้ำดีออกมาได้
อุจจาระเป็นมูกวุ้น เหมือนน้ำมูก
ถ่ายทั้งวัน อาจมีเลือดออกด้วย เกิดจาก อาการอักเสบของลำไส้ในผู้สูงอายุ อาจเป็นมะเร็งล าไส้ใหญ่ แต่ถ้าหายได้เองใน 1-2 วันอาจเกิดจากอาหารเป็นพิษ
อุจจาระคล้ายดินร่วน เหลว ปวดถ่ายเร็ว
เกิดจาก การถ่ายท้องเนื่องจากยาระบาย หรืออาหารที่มีฤทธิ์เป็นยาระบายทำให้ลำไส้ใหญ่บีบตัวเร็วถ้ามีสีเขียวด้วยนั่นคือสีของน้ำดี มักพบในคนที่ท้องเสียมากๆ และในเด็กที่ลำไส้ยังสั้นและทำงานเร็ว
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits)
การเปลี่ยนแปลงกิจวัตรประจำวัน ส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ ดังนั้นควรมีการฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา หรือเมื่อรู้สึกอยากถ่ายให้รีบไปถ่าย หากมีการกลั้นอุจจาระไว้จะทำให้เกิดท้องผูกได้
ความเหมาะสม (Opportunity)
สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้ำไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระ
ท่าทางในการขับถ่าย (Opportunity and position) ท่านั่งจะช่วยในการขับถ่ายได้สะดวก ผู้ปุวยบางรายต้องใช้กระโถนนอน (Bed pan) ถ่ายจจาระบนเตียง ทำให้ท่านอนไม่ช่วยส่งเสริมการขับอุจจาระออกได้สะดวก ทำให้ผู้ป่วยขับถ่ายอุจจาระลำบากจึงพยายามอั้นไม่ถ่ายอุจจาระ ท าให้เกิดอาการท้องผูกในที่สุด
อารมณ์ (Emotion)
เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลง เช่น หงุดหงิด หรือวิตกกังวล ทำให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมน และการทำงานของระบบประสาท Sympathetic มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
ยา (Medication)
ยา Atropine และMorphine จะทำให้การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง และการบีบตัวขับอุจจาระช้าลง ท าให้เกิดท้องผูกได้
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
ทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย ทำให้จะไปเบียดกดลำไส้ส่วนปลาย ในการเบ่งถ่ายอุจจาระจึงต้องใช้แรงเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกเป็นประจำ และเกิดโรคริดสีดวงทวารในหญิงตั้งครรภ์
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
น้ำจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทำให้อุจจารอ่อนตัว และยังช่วยกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ได้ดี
อาการปวด (Pain)
โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery) เมื่อมีอาการปวดถ่ายอุจจาระผู้ปุวยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทำให้อั้นอุจจาระไว้ จึงส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกตามมา
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
พืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมากทำให้อุจจาระสามารถขับเคลื่อนได้ดีกว่าอาหารที่กากใยน้อย เพราะช่วยเพิ่มน้ำหนักอุจจาระ และช่วยทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มด้วย
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การดมยาสลบชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิดPeristalsisลดลง
ขณะทำการผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลำไส้ทำให้เกิดPeristalsisลดลงชั่วคราว เรียกว่า “Paralytic ileus” อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง หรือหลายวันในการกลับคืนสู่การทำงานปกติ
อายุ (Age)
เด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุ ตั้งแต่ 24-30 เดือนขึ้นไป มีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง
ผู้สูงอายุมักจะมีปัญหา กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนยาน ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระจึงเกิดขึ้นได้มากกว่าวัยอื่น
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการท างานของลำไส้ชั่วคราว ซึ่งมีความจำเป็นต้องทำให้ลำไส้สะอาด ผู้ป่วยต้องได้รับ การงดน้ำและอาหาร (NPO) หรือรับประทานอาหารเหลวใส (Clear liquid) หรือทำการสวนอุจจาระ(Enema) จนทำให้ลำไส้สะอาดก่อนการส่งตรวจเรียกว่า “การเตรียมลำไส้”(Bowel preparation)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
สาเหตุ
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมาก
เกินไป หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น
ตับโต ม้ามโต ท้องมานน้ า (Ascites ) เป็นต้น
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด แสดงความเห็นอก
เห็นใจและให้ก าลังใจ
ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
สาเหตุจากได้รับยาระงับปวดที่มีอาการข้างเคียงทำให้ลดการ
เคลื่อนไหวของลำไส้ เช่น มอร์ฟีน เป็นต้น
ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู การคล า การเคาะและการฟัง Bowel
sound ลงบันทึกไว้ทุก 4 ชั่วโมงตามเวลาวัดสัญญาณชีพ
พิจารณาให้ยารับงับปวดตามความจ าเป็น (PRN) โดยการประเมิน
คะแนนความเจ็บปวดทุกครั้ง
สังเกตอาการท้องอืดโดยการสอบถามผู้ปุวยถึงอาการท้องอืด
สาเหตุจากอาหารไม่ย่อย
ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู การคล า การเคาะและการฟัง Bowel
sound ลงบันทึกไว้ทุก 4 ชั่วโมงตามเวลาวัดสัญญาณชีพ
แนะน าให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย หรืองดน้ าและอาหาร
ทางปากชั่วคราวหรือจนกว่าอาการจะดีขึ้น หรือผายลมได้ท าให้อาการท้องอืดลดลง ผู้ปุวยรู้สึกสุขสบายขึ้น
สังเกตอาการท้องอืดโดยการสอบถามผู้ปุวยถึงอาการท้องอืด
สาเหตุจากการถูกจ ากัดการเคลื่อนไหวหรือความสามารถในการขยับตัว
ได้ลดลงหรือหลังการผ่าตัดไม่ยอมขยับตัวเนื่องจากมีความกลัวต่าง ๆ
กระตุ้นและช่วยเหลือเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การพลิกตะแคง
ตัวบนเตียง จัดท่านอนศีรษะสูง การลุกออกจากเตียง เป็นต้น
การใส่สายทางทวารหนัก (Rectal tube) เพื่อระบายลม ซึ่งคล้าย
การสวนอุจจาระ แตกต่างกันที่ไม่ได้ใส่สารใดๆ เข้าในลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง และวัตถุประสงค์ของการสวนเป็นการระบายแก๊สออกจากลำไส
อธิบายการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เพื่อกระตุ้นการบีบตัวของล าไส้ให้
ระบายแก๊สออกได
พิจาณาการใช้ยา อาจให้ยาช่วยย่อยอาหาร ยาขับลม ท าให้เรอ
ผายลม หลังให้ยา และท าให้สุขสบายขึ้น หรืออาจให้ยาก่อนใส่สายทวารหนักเพื่อระบายลม
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อยตัว ปอด
ขยายตัวได้ดีขึ้นลดอาการแน่นหน้าอกและท าให้หายใจสะดวก
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านจิตใจ
ผลด้านสังคม
ผลด้านร่างกาย
ผลด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลผู้ปุวยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
ด้านร่างกาย
ให้การดูแลผิวหนังให้สะอาด และแห้งตลอดเวลา โดยเฉพาะหลังการขับถ่ายอุจจาระทุกครั้งเพื่อปูองกันการระคายเคืองและเกิดแผล
ดูแลเสื้อผ้า ที่นอน ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระโดยใช้วิธีการฝึกถ่ายอุจจาระเป็นเวลาเลือก
เป็นเวลาที่สะดวก เช่น ตอนเช้าตรู่ เป็นต้น
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงการเกิดโรคหวัด ซึ่งจะท าให้มีอาการไอ
จาม อาจท าให้มีอุจจาระเล็ดออกมาขณะไอและจามได้ ส่งผลให้ขาดความมั่นใจในการใช้ชีวิตประจ าวัน
ความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
ด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
การดูแลเรื่องจิตใจเป็นสิ่งส าคัญ เพราะอาจส่งผลให้เกิดภาวะเก็บกด (Depression)พยายามหลีกเลี่ยงการเข้าสังคม และเก็บตัวไม่ยอมรับสภาพร่างกายที่เปลี่ยนไป
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
คือ การล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ปุวยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้ อุจจาระจับเป็นก้อนและไม่ถูกขับออกมาตามปกติ ประมาณ 4-5 วัน หรือมีอาการท้องอืดตึง เป็นต้น
อุปกรณ์เครื่องใช้
สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย (Mask)
หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกส าหรับใช่อุจจาระ
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
เปูาหมายส าคัญของการพยาบาล คือ การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ (Evacuation) และอาจใช้ยาระบายเพื่อท าให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่นหรือการสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
วิธีปฏิบัติ
พยาบาลสวมถุงมือ 2 ชั้น แล้วใช้นิ้วชี้หล่อลื่นด้วยเจลหล่อลื่น (วาสลินหรือ
สบู่เหลว) บอกผู้ปุวยให้รู้ตัวแล้วสอดนิ้วชี้เข้าทางทวารหนัก พร้อมให้ผู้ปุวยช่วยอ้าปากหายใจยาว ๆเพื่อช่วยผู้ปุวยผ่อนคลายและไม่รู้สึกเจ็บ
ล้วงเอาก้อนอุจจาระออกใส่ในหม้อนอนหรือถุงพลาสติกที่เตรียมไว้พยาบาลต้องทำด้วยความนุ่มนวลและรวดเร็วเนื่องจากอาจทำให้ผู้ปุวยรู้สึกเจ็บและเขินอายได้
ปูผ้ายางรองให้ผู้ป่วย และวางหม้อนอนหรือถุงพลาสติกไว้ใกล้ ๆ
เช็ดทำความสะอาด จัดเสื้อผ้าให้เรียบร้อย และเก็บเครื่องใช้
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ ขาขวา งอเล็กน้อย (Sim’s position)
ทำความสะอาดเครื่องใช้และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
แนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยทราบ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
สาเหตุ อาการเริ่มแรก คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระ
เป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้ ซึ่งต่างจากท้องเดิน
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ าและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance)
สูญเสียท าให้ร่างกายอ่อนเพลีย น้ าหนักลด มีอาการของภาวะการขาดน้ า (Dehydration)
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของล าไส้และการถ่าย
อุจจาระหลาย ๆ ครั้ง เป็นการรบกวนการใช้ชีวิตประจ าวันและการพักผ่อน
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องเสีย
ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
ประเมินภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่เป็นระยะๆ แล้วแต่ความรุนแรง
ของอาการ โดยการสังเกต และบันทึกอาการและอาการแสดงจากการขาดน้ำ
ทดแทนน้ า และเกลือแร่ให้พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย เช่น
การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า ค านวณจ านวนหยดให้เป็นไปตามแผนการรักษา กรณีที่ไม่ได้งดน้ าและอาหารทางปาก (NPO) กระตุ้นให้ดื่มน้ าเกลือแร่บ่อย ๆ เพื่อทดแทนน้ าและเกลือแร่ที่สูญเสียไป
บันทึกปริมาณน้ าที่ได้รับและที่ขับออกจากร่างกายให้ครบถ้วน
สังเกตความผิดปกติอื่น ๆ ที่เกิดร่วมด้วย พร้อมทั้งสังเกตประเมินอาการ และติดตามผลการตรวจเลือด และอุจจาระทางห้องปฏิบัติการ เพื่อรายงานแพทย์ให้การรักษาต่อไป
การดูแลเรื่องอาหาร ในระยะแรกมักให้งดอาหารและน้ าทางปาก (NPO)ให้ดื่มเฉพาะน้ า หรือสารน้ าซึ่งสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย เมื่ออาการดีขึ้นจึงเริ่มให้อาหารอ่อน
สังเกตและบันทึกลักษณะอุจจาระ ความถี่ของการถ่ายอุจจาระ และประเมิน
ความรุนแรงของอาการและอาการแสดง
ให้การช่วยเหลือดูแลในการขับถ่ายอุจจาระที่มีจ านวนครั้งค่อนข้างบ่อย โดย
แสดงการช่วยเหลือด้วยท่าที่เหมาะสมและเต็มใจ
ให้โอกาสผู้ปุวยได้อยู่ตามล าพัง แต่ไม่ควรทิ้งผู้ปุวยหมั่นดูอาการเป็น
ระยะๆ และเมื่อได้ยินสัญญาณเรียกจากผู้ปุวย
ช่วยเหลือผู้ปุวยให้ถ่ายได้ทัน ไม่หกเรี่ยราด เลอะเทอะ และอ านวยความ
สะดวกสบายให้แก่ผู้ปุวย
ช่วยเหลือช าระล้างและท าความสะอาดหลังการถ่ายอุจจาระ
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ ให้การพยาบาลตามความจ าเป็นและเหมาะสมเพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ประเมินสภาพผู้ปุวย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ หรือการกลับซ้ าเป็นอีก กรณีที่มีการติดเชื้อของระบบทางเดินอาหาร ควรปฏิบัติ
อธิบายให้ญาติล้างมือก่อนสัมผัสผู้ปุวย
บริการอาหารที่สะอาดปรุงสุกใหม่ ไม่มีแมลงวันตอม
แนะน าการได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ติดตามวัดสัญญาณชีพ ทุก 2–4 ชั่วโมงพบอาการผิดปกติรายงานแพทย์
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลทุกครั้ง
ติดตามผลการตรวจอุจจาระ
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์ จนท าให้เกิดการเจ็บปุวยที่แสดงออกทางร่างกาย เรียกว่า “Psychosomatic disorder”
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
(Side effect) เช่น Ceftriaxone (Cef-3), Claforan, Azithromycin, Levefloxacin เป็นต้น
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค เช่น อาหารที่มีแมลงวันตอม เป็นต้น
ภาวะท้องผูก ( Constipation )
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
แน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ วิงเวียน
ปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ในผู้ป่วยโรคตับ อาจเกิดอาการสับสน หมดสติ (Hepaticcoma) >>จากแบคทีเรียในลำไส้ เปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร >>แอมโมเนีย และดูดซึมเข้ากระแสเลือดไปยังสมองในผู้ป่วย
ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
อุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง หรือผนังลำไส้หย่อนตัวเป็นถุงสะสมอุจจาระไว้ พบในผู้สูงอายุ อัมพาต
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่าย
อุจจาระให้เป็นเวลา การถ่ายอุจจาระเมื่อปวดถ่ายโดยไม่กลั้นหรือปล่อยทิ้งไว้ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันการท้องผูก
จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ ควรดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 2,000–2,500 cc. ถ้าไม่มีข้อห้าม เพื่อช่วยให้เพิ่มน้ำนอกเซลล์ น้ำมีการซึมผ่านผนังลำไส้ใหญ่ได้มากขึ้นท าให้อุจจาระมีน้ำมากช่วยให้ขับอุจจาระได้ง่ายขึ้น
แนะนำให้ออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวของร่างกายจะมีผลต่อการบีบตัวของลำไส้ช่วยให้การถ่ายอุจจาระเป็นปกติ
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งอาหารที่มีเส้นใยและกากมาก ๆ
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย พยายามลดการใช้จนสามารถเลิก
ใช้ยาระบาย หรือใช้ในกรณีที่จำเป็นเพื่อเป็นการปูองกันไม่ให้ผู้ป่วยต้องเบ่งถ่ายอุจจาระ
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2ประเภท
ภาวะท้องผูกปฐมภูมิ โดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้ำ การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกทุติยภูมิ เกิดจากความเจ็บป่วยหรือการรักษาด้วยยา
ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
ลดลงของการเคลื่อนไหวของลำไส้
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ภาวะผิดปกติของลำไส้
ฝิ่น
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
เนื่องด้วยล าไส้ที่เปิดออกมาท าหน้าที่ระบายอุจจาระออกมามีถุงรองรับ เมื่อต้องเปลี่ยนถุงรองรับ ด้วยการดึงถุงที่มีกาวติดกับผิวหนังออก แล้วใช้ล าสีสะอาดชุบน้ าสะอาดเช็ดท าความสะอาดStoma ก่อน แล้วเช็ดผิวหนังรอบ ๆ ให้สะอาด เช็ดด้วยส าลีแห้ง แล้วปิดถุงใหม่ลงไป สังเกตรอยแดง
หรือผื่น และระวังมีแผลถลอกจากการดึงพลาสติกกาวที่ติดแน่นกับผิวหนัง
คำแนะนำสำหรับผู้ปุวยผ่าตัดเปิดลำไส้ทางหน้าท้อง
หลังผ่าตัดประมาณ 7-10 วัน แผลที่บริเวณ Stoma ก็จะแห้งสนิท และระบบขับถ่ายอุจจาระก็จะเข้าสู่ภาวะปกติเช่นกัน ผู้ปุวยจึงสามารถประกอบกิจวัตรประจ าวันได้ตามเดิมหลังผ่าตัด 6–8 เดือน สามารถออกก าลังกายได้ แต่ควรหลีกเลี่ยงกีฬาที่หักโหมรุนแรง
การพยาบาลผู้ปุวยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม ผู้ปุวยต้องปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารควรทราบถึงการเลือกชนิดของอาหารที่มีผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ท าให้เกิดแก็ส และควรหลีกเลี่ยง การเคี้ยวหมากฝรั่ง สูบบุหรี่ การเคี้ยวอาหารปิดปากไม่สนิท การดูดน้ าจากหลอด
หลีกเลี่ยงอาหารที่ท าให้เกิดกลิ่น ส่วนอาหารที่ลดกลิ่น
รับประทานอาหารที่ปูองกันอาการท้องผูกเช่น น้ าผลไม้ ผักผลไม้เป็นต้น
ควรรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ ในเวลาเดียวกันทุก ๆ วัน
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดหรืออาหารหมักดอง เพราะอาจท าให้ท้องเดิน
การออกกำลังกายและการทำงาน
ระยะแรก ผู้ปุวยควรออกก าลังกายเบา ๆ เช่น เดินเล่นและท ากิจวัตร
ประจ าวันได้ด้วยตนเอง หลังผ่าตัด 6 สัปดาห์ท างานที่ไม่ต้องใช้แรงกายมากได้
หลังผ่าตัด 3-6 เดือน ออกก าลังกายได้ตามปกติ หลีกเลี่ยงกีฬาที่ต้องกระแทก
กัน เช่น ชกมวย มวยปล้ า ปูองกันแรงกระแทก
การปิดถุงรองรับอุจจาระ
ถุงปลายเปิด ใช้ส าหรับของเสียที่เป็นน้ า อุจจาระเหลว และมีปริมาณมาก
ถุงปลายปิด ใช้ส าหรับอุจจาระที่ค่อนข้างเป็นก้อน ใช้ได้ทั้งระบบชิ้นเดียวหรือสองชิ้น และเปลี่ยนถุงอย่างน้อยวันละครั้ง
การฝึกหัดการขับถ่าย โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ต้องหัดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง และเบ่งถ่ายอุจจาระทุกวัน ตอนเช้า นอกจากนี้ อาจต้องใช้ยา Dulcolax หรือ Glycerine เหน็บรูเปิดล าไส้ จะช่วยให้การขับถ่ายเป็นเวลา
การท าความสะอาดช่องเปิดของล าไส้ และผิวหนังรอบ ๆ แบ่งเป็น 3ระยะ
ระยะที่ 2 หลังผ่าตัด 7-10 วัน
ระยะที่ 3 หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห
ระยะที่ 1 หลังผ่าตัด 4-5 วัน
ภาวะแทรกซ้อน สังเกตและดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย คือ การระคายเคืองของผิวหนังรอบบริเวณช่องเปิดล าไส้การติดเชื้อ การตีบของ Stoma การอุดตันการทะลของลำไส้อาการท้องเสีย เป็นต้น
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
ใบส่งตรวจ
หม้อนอน
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ มีวิธีการปฏิบัต
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
ให้ผู้ปุวยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันส าลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่ม
ไม้พันส าลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที (ภาชนะที่ใช้เก็บตัวอย่างอุจจาระต้องปลอดเชื้อและมีอาหารเลี้ยงเชื้อ เก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 4-10 ˚C ระวังการปนเปื้อน อาจท าให้ผลการตรวจคลาดเคลื่อน)
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง มีวิธีการ
ปฏิบัติ
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง ใช้ไม้แบนเขี่ย
อุจจาระจ านวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที และใส่ถุงพลาสติกหุ้มอีกชั้น
ส าหรับการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝง สิ่งส าคัญ คือ ต้องให้ผู้ป่วยงดอาหารที่มีเลือดปน เช่น อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ หรือยาที่มีธาตุเหล็ก เป็นต้น เพื่อป้องกันผลการตรวจคลาดเคลื่อน
ส่วนการตรวจหาพยาธิให้ตักอุจจาระส่วนที่เป็นของเหลว หรือที่ลักษณะมูก หรือ เซลล์เยื่อบุที่หลุดออกมา หรืออุจจาระที่มีลักษณะผิดปกติชัดเจน
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
อธิบายให้ผู้ปุวยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่ง
ตรวจ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ระวังการปนเปื้อนปัสสาวะ น้ า และสิ่งปนเปื้อนอื่น
ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ ผู้ป่วยมีพยาธิปากขอ เป็นต้น
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนำไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ(Fecal examination หรือ Stool
examination)
การสวนอุจจาระ
ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด
Cleansing enema เป็นการสวนน้ าหรือน้ ายาเข้าไปในล าไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ปุวยเด็ก ผู้ปุวยที่มีล าไส้อักเสบ ไม่เหมาะสมในผู้ปุวยโรคหัวใจวาย
) Fleet enema เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ ายาส าเร็จรูปคือสารละลาย
Hypotonic บรรจุในขวดพลาสติก ลักษณะของขวดมีหัวสวนอยู่ในตัว และหล่อลื่นด้วยวาสลิน
Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ าสบู่ผสมน้ า ใช้น้ำสบู่เข้มข้น 15 ml. ในน้ า 1,000 ml.
Oil enema เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ ามันพืช นิยมใช้ในผู้ปุวยที่มีอุจจาระอุดตัน ให้ผลหลังสวนประมาณ 30 นาที
Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้ าสะอาดเข้าในล าไส้ ไม่นิยมใช้ในผู้ปุวยที่มีภาวะอิเล็กโตรไลต์ไม่สมดุล หรือผู้ปุวยเด็ก
Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ ายาเข้าไปเก็บไว้ในล าไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml. ที่นิยมใช
Oil-retention enema เป็นการสวนเก็บน้ ามัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นให้ลำไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกายทางทวารหนัก
อุปกรณ์เครื่องใช้
กระโถนนอน (Bed pan)
ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
กระดาษช าระ
ผ้ายางกันเปื้อน
ชามรูปไต
สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
สารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น
เหยือกน้ า
หัวสวนอุจจาระ
เสาน้ าเกลือ
หม้อสวน
ถุงมือสะอาด 1คู่ และ Mask
วัตถุประสงค์
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อการรักษา
ลดปัญหาอาการท้องผูก
วิธีปฏิบัติ
เปิด Clamp เพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวน ปิด Clamp หัวสวน หล่อลื่นหัวสวนด้วย KY jelly ไล่อากาศเพื่อทดสอบว่าหัวสวนไม่อุดตัน และไม่เป็นการน าลมเข้าล าไส้หล่อลื่นหัวสวนเพื่อ ปูองกันการเสียดสีของหัวสวนกับทวารหนัก และลดความเจ็บปวดขณะสอดหัวสวนเข้าช่องทวารหนัก
บอกให้ผู้ปุวยทราบว่าจะท าการสวนอุจจาระ โดยการแตะหัวสวนที่ทวารหนักอย่างนุ่มนวลเบา ๆ ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดยก Buttock ให้เห็นช่องทวารหนัก บอกให้ผู้ปุวยหายใจยาว ๆ
ปิด Clamp หัวสวนไว้ เทน้ ายาใส่หม้อสวน แขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ปุวย 1 ฟุต (12 นิ้ว) เหนือจากระดับที่นอน เพื่อควบคุมแรงดันน้ า ถ้าแขวนสูงกว่า 1 ฟุตจะเพิ่มแรงดันในล าไส้อย่างรวดเร็ว จะท าให้ล าไส้บีบตัวแรง เกิดการหดเกร็ง ท าให้ปวดท้องได้ หรือเกิดการระคายเคืองต่อผนังล าไส้หรืออาจเกิดล าไส้ปริและอาจท าให้อยากถ่ายอุจจาระเร็วเกินไป
สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 3 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้ ให้หัวสวนไปตามกายวิภาคของล าไส้ส่วน Sigmoid และปูองกันหัวสวนขูดล าไส้เป็นแผล
ล้างมือ สวมถุงมือ และต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น ปูองกันหัวสวนหลุดเข้าช่องทวารหนักขณะสวนและท ารั่วเปียกเลอะเทอะ
จับหัวสวนให้แน่กระชับมือ เปิด Clamp ให้น้ าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10นาทีระหว่างท าการสวนให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจยาว ๆ สังเกตระดับน้ำในหม้อสวนปล่อยน้ำไปเรื่อย ๆถ้าผู้ปุวยทนไม่ได้ขณะน้ ายังไม่หมด ให้ปิดน้ำไว้สักครู่ แล้วให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจเข้าออก ลึก ๆ ทางปากช้า ๆ จนผ่อนคลายลงแล้วจึงเปิดน้ำต่อเมื่อสารน้ำหมดจึงปิดน้ำ น้ำจะกระตุ้นให้ลำไส้บีบตัวการอ้าปากหายใจยาว ๆ ท าให้ลำไส้คลายตัวลดการบีบตัวลงได้
คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย ลดอาการเกร็งของผู้ปุวยจาก
ความเขินอายและท าให้เกิดความมั่นใจ
ค่อย ๆ ดึงสายสวนออกเบา ๆ ปลดหัวสวนออก ห่อด้วยกระดาษช าระวางในชามรูปไต บอกให้ผู้ปุวยนอนท่าเดิมพยายามเก็บน้ าไว้ในล าไส้ 5-10 นาทีการเก็บน้ าให้ได้นานที่สุดเมื่อถ่ายอุจจาระออกได้มากจะท าให้ล าไส้สะอาดได้มากที่สุดเท่าที่ท าได้
จัดท่านอนให้ถูกต้อง คือนอนตะแคงซ้าย งอเข่าขวาไปข้างหน้า เลื่อนผู้ป่วยมาชิดขอบเตียง การนอนตะแคงซ้ายจะทำให้ลำไส้ส่วน Descending อยู่ด้านล่าง ท าให้น้ าไหลเข้าสะดวกขึ้นและเก็บน้ าได้ดี การงอเข่าขวาจะท าให้ช่องทวารหนักเปิด สะดวกในการใส่สายสวน การเลื่อน ผู้ปุวยมาชิดริมเตียงเพื่อให้การพยาบาลผู้ปุวยได้ถนัดขึ้น
สอด Bed pan กั้นม่านให้มิดชิด หลังถ่ายเสร็จใช้ Bed pad ปิดคลุม Bed
pan หรือในรายที่เดินได้ให้ผู้ปุวยลุกเดินไปห้องน้ าเอง
ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ป่วย ป้องกันไม่ให้ที่นอนเปรอะเปื้อนและเปียกน้ำ
เก็บเครื่องใช้ท าความสะอาดให้เรียบร้อย ถอดถุงมือ ล้างมือให้สะอาด
นำเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน และวิธีการปฏิบัติตัวปิดม่าน เพื่อไม่เปิดเผยผู้ป่วยเกินความจำเป็น
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน สะดวกในการปฏิบัติ
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ ในการสวนอุจจาระให้แก่ผู้ป่วยมีอาการแทรกซ้อนที่ควรต้องสังเกตและติดตาม
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Water intoxication) เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับน้ำจำนวนมากเกินไป
การติดเชื้อ เช่นลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลำไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ภาวะ Methemoglobinemia เป็นภาวะที่เม็ดเลือดแดงในร่างกายลดความสามารถในการขนส่งออกซิเจนลง
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระมีข้อห้ามที่ไม่ควรทำในผู้ป่วยต่อไปนี้
มีการอักเสบของลำไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นต้น
มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
ควรระวังในการสวนอุจจาระ
การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้า
สารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาทีเพื่อให้ผู้ป่วยเก็บน้ำได้หมดการปล่อยสารละลายช้า ๆ จะช่วยลดความไม่สุขสบายจากล าไส้โป่งตึง และถ้าปล่อยน้ำไหลแรงเกินอาจทำให้ผู้ป่วยปวดท้องเป็นตะคริว อาจทำให้ลำไส้แตกได้
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในล าไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย มีรูเปิด 1–2 รู ปลายมน หากต้องการให้ผู้ปjวยกักเก็บสารน้ าได้ดีควรใช้สายยางขนาดเล็ก เด็กโต สอดลึกประมาณ 2–3 นิ้ว ส่วนเด็กเล็ก สอดลึกประมาณ 1–1.5 นิ้ว
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
ท่านอนของผู้ป่วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ า (Sim’s position)ให้เข่าขวา งอขึ้นมาก ๆ ถ้าผู้ปุวยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้อาจจัดให้นอนหงาย แต่ไม่ควรให้อยู่ในท่านั่ง
ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปีใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
เด็กอายุ 10–14 ปีใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในล าไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้ำเข้าไปในลำไส้ใหญ่จนผู้ป่วยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ปุวยหายใจทางปากยาว ๆ เพื่อผ่อนคลายและกลั้นอุจจาระต่อไปอีก 5–10 นาที หรือเท่าที่จะทนได้เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัวลง
อุณหภูมิของสารน้ า อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ จากสาเหตุที่ผู้ป่วยเบ่ง ควรบอกให้ผู้ปุวยอ้าปากหายใจเข้ายาว ๆ แต่หากเกิดจากปลายหัวสวนติดผนังล าไส้ ให้ถอยหัวสวนออกมาเล็กน้อยหลังจากเลื่อนหัวสวนแล้ว สารละลายก็ยังไม่ไหล อาจมีอุจจาระติดที่ปลายหัวสวนค่อย ๆ ดึงหัวสวนออกมาแล้วเปลี่ยนหัวสวนอันใหม
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ และดื่มน้ า
อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
การวางแผน
วางแผนให้ความรู้และเน้นความส าคัญของการดูแลสุขภาพเรื่องการโรคของระบบทางเดินอาหารและล าไส้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
แนะนำให้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้ลำไส้ได้เคลื่อนไหวช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ
ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรไทยช่วยในการขับถ่ายอุจจาระทดแทนการใช้ยาระบายโดยนำมาปรุงเป็นอาหาร เช่น มะขาม มะระไทย เป็นต้น
อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้ำให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ลดความเครียดหรือวิตกกังวล ช่วยทำให้นอนหลับสบายตื่นเช้าจะได้สดชื่นและเข้าห้องน้ าถ่ายอุจจาระเป็นเวลาในตอนเช้าตร
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย ได้แก่ ผักต่าง ๆ ผลไม้ประเภท มะละกอ กล้วยน้ำว้า เป็นต้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจ า
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
. เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)