Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
ภาวะท้องผูก (Constipation)
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
แบคทีเรียในลำไส้
ทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
สาเหตุ ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิอาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะ
อ่อนนุ่ม
สาเหตุ : ท้องเสียหรือการดูดซึมลดลง และท้องเสีย
ความถี่
เด็ก
(นมมารดา) วันละ 4-6 ครั้ง
(นมขวด) วันละ 1-3 ครั้ง
สาเหตุ : มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไป
หรือน้อยเกินไป
ผู้ใหญ่
วันละ 2 ครั้ง
หรือ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
สาเหตุ : มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไป
หรือน้อยเกินไป
กลิ่น
มีกลิ่นเฉพาะจากอาหาร
ตกค้าง
สาเหตุ : การติดเชื้อจากเลือดในอุจจาระ
รูปร่าง
เท่ากับขนาดความกว้างของ
ลำไส้ตรง
สาเหตุ : มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมี
การบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
สี
เด็ก
สีเหลือง
สาเหตุ : ไม่มีน้ำดี
ผู้ใหญ่
สีน้ำตาล
สาเหตุ
ธาตุเหล็กปนอยู่หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีเลือดออกในทางเดินอาหารมีริดสีดวงทวาร หรือบริโภคผัก เช่น
หัวผักกาดแดงหรือผลไม้เช่น แก้วมังกรสีแดง
อื่นๆ
อาหารไม่ย่อย, แบคทีเรียที่ตายแล้ว, ไขมัน, สีน้ำดี
,เซลล์หรือเยื่อบุลำไส้, น้ำ
สาเหตุ
กลุ่มอาการพร่องการดูดซึม, ลำไส้อักเสบ, โรคของตับอ่อน, มีการผ่าตัดเกี่ยวกับลำไส้
มีการระคายเคืองของลำไส้, มีกาอักเสบ, มีการติดเชื้อหรือได้รับอันตราย
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร,รับประทานอาหารบูด,
มีการระคายเคือง, มีการอักเสบ,และมีพยาธิ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
อารมณ์ (Emotion)
อายุ (Age)
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
ความเหมาะสม (Opportunity)
อาการปวด (Pain)
ยา (Medication)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การตั้งครรภ์(Pregnancy)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เป็นทั้งการนำสารพิษและของ
เสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ออกไปและเป็นการสร้างระบบขับถ่ายที่ดี
ต่อร่างกายและดีต่อสุขภาพ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษ
และของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ให้ความสำคัญกับสัญญาณความรู้สึกอยากขับถ่าย
และให้เวลาที่เพียงพอสำหรับการขับถ่ายอุจจาระ
ส่วนประกอบเป็นน้ าประมาณร้อยละ 70-80
ส่วนที่เป็นของแข็งครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเป็นแบคทีเรีย
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
อุปกรณเ์ครื่องใช้
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
ใบส่งตรวจ
หม้อนอน
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ และส่งตรวจหาเลือดแฝง
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood)
ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนำไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อ แบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
(Fecal examination หรือ Stoolexamination)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจาจาระ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ข้อควรคำนึงในการสวนอุจจาระ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ ในการสวนอุจจาระให้แก่
ผู้ป่วยมีอาการแทรก ซ้อนที่ควรต้องสังเกตและติดตาม
ภาวะเป็นพิษจากน้ำ (Water intoxication)
การติดเชื้อ เช่นลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ
ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลำไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ภาวะ Methemoglobinemia เป็นภาวะที่เม็ดเลือดแดงในร่างกาย
ลดความสามารถ ในการขนส่งออกซิเจนลง
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระ
มีข้อห้ามที่ไม่ควรทำในผู้ป่วย
มีการอักเสบของลาไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นต้น
มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลาไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
การสวนอุจจาระ
ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด
Cleansing enema เป็นการสวนน้าหรือน้ายาเข้าไปในลาไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้น ให้มีการเคลื่อนไหวของลาไส้
Retention enema การสวนเก็บ เป็นการสวนน้ายาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
วัตถุประสงค์
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อการรักษา
ลดปัญหาอาการท้องผูก
อุปกรณเ์ครื่องใช้
กระดาษชาระ
ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
กระโถนนอน (Bed pan)
ผ้ายางกันเปื้อน
ชามรูปไต
สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
สารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น
เหยือกน้ำ
หัวสวนอุจจาระ
เสาน้ำเกลือ
หม้อสวน
ถุงมือสะอาด 1คู่ และ Mask