Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระ
เป็นกระบวนการของร่างกายในภาวะปกติ ที่ขับของเสียอันเกิดจากการย่อยอาหาร
ลำไส้ใหญ่ทำหน้าที่สะสมกากอาหารและดูดซึมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายออกจากกากอาหารทำให้กากอาหารเหนียวและข้นจนเป็นก้อนแข็ง
ลำไส้จะบีบตัวเพื่อให้กากอาหารเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลำไส้ตรง
และขับถ่ายสู่ภายนอกร่างกายทางทวารหนัก ที่เรียกว่า อุจจาระ
Reflex
เมื่อรับประทานอาหารทำให้เกิดการยืดขยายของลำไส้ส่วนต้น เกิดเคลื่อนไหวแบบPeristalsis บีบก้อนอาหาร และขับอุจจาระออกไป
ถ้าอุจจาระเคลื่อนตัวจาก SigmoidจนถึงRectum
จะเกิดการปวดถ่ายอุจจาระเป็นสัญญาณเตือน
การควบคุมของสมอง
อาศัยการเบ่ง: การหดตัวกล้ามเนื้อหน้าท้อง กระบังลม และ กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
แรงดันช่องท้อง
เพิ่มขึ้น
มีแรงกดที่
ลำไส้ใหญ
อุจจาระถูกขับ
ออกมาเร็วขึ้น
การขับถ่ายอุจจาระ
ขับกากอาหารออกจากร่างกาย
ถ้าขับถ่ายผิดปกติ กระทบต่ออวัยวะอื่น ๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
อารมณ์ (Emotion)
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits)
ความเหมาะสม (Opportunity)
ยา (Medication)
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
อาการปวด (Pain)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การดมยาสลบชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุ
ของการเกิด Peristalsis ลดลง
ขณะทำการผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลำไส้ทำให้เกิด
Peristalsis ลดลงชั่วคราว เรียกว่า “Paralytic ileus”
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ลักษณะของอุจจาระปกติและ
สาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะของอุจจาระปกติ
สีน้ำตาลอ่อนจนถึงน้ำตาลเข้ม
ลักษณะอ่อน มีรูปร่าง
เด็กเล็กอุจจาระอาจจะเป็นสีเหลืองเข้มขึ้นอยู่กับ
ชนิดของอาหารที่รับประทาน
การที่อุจจาระมีสี เกิดจากน้ำดี (Bile) ถ้าไม่มีการขับน้ำดีเข้าสู่ลำไส้จะทำให้อุจจาระมีสีซีด
ลักษณะอุจจาระผิดปกติ
อุจจาระคล้ายดินร่วน เหลว ปวดถ่ายเร็ว
อุจจาระเป็นสีขาวซีดเหมือนสีขี้เถ้า
อุจจาระเป็นก้อนเล็ก ๆ แข็ง แห้ง
Melena
อุจจาระเป็นสีดำ มีกลิ่นแรง ร่วมกับอาการปวดท้อง เกิด
จากความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งอาจเกิดเลือด
ไหลจากกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก หรือลำไส้ใหญj
อุจจาระมีเลือดสดปนออกมา
อุจจาระมีเลือดสดและคันก้น
อุจจาระเป็นมูกวุ้น เหมือนน้ำมูก
สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มี
ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก ( Constipation )
แห้งแข็ง ขับถ่ายลำบาก
ออกแรงเบ่งมาก
ความเจ็บปวด
แบ่งออก เป็น 2 ประเภท
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
สาเหตุ
ลดลงของการเคลื่อนไหวของลำไส้
ภาวะผิดปกติของลำไส้
ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ฝิ่น
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ในผู้ปุวยโรคตับ(Hepatic coma)
การอัดแน่นของอุจจาระ
(Fecal Impaction)
สืบเนื่องจากท้องผูก สะสมอุจจาระไว้ในไส้ตรงเป็นเวลานาน
การพยาบาล
เป้าหมาย >>ช่วยเหลือเอาอุจจาระออกจากร่างกาย
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
ให้ยาระบาย
การสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
ท้องอืด
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบาย
เกิดจากแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น
สาเหตุอาการท้องผูก
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมากจากอาหารไม่ย่อย
มีการสะสมของอุจจาระมากจากการไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
มีแก๊สมากในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
เกิดจากการมีน้ำคั่งมากในช่องท้อง เช่น ท้องมานน้ำ
อวัยวะในช่องท้องใหญ่ผิดปกติ เช่น ตับโต ม้ามโต
การพยาบาล
พยายามหาสาเหตุแล้วช่วยเหลือตามสาเหตุ
การใส่สายทางทวารหนักเพื่อระบายลม
การใช้ยาขับลม ยาระบาย
กระตุ้นให้เคลื่อนไหวร่างกายเพื่อกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้ให้ระบายแก๊สออกได้
ใส่ NG tube เพื่อระบายลม น้ าย่อย อาจต่อกับเครื่องsuction
แสดงความเข้าใจและให้กำลังใจ
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
(Fecal incontinence)
เกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนักมีการกดทับจากอุจจาระ
ความผิดปกติของปลายประสาทรับความรู้สึกที่เลี้ยงบริเวณทวารหนัก
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
สูญเสียความรู้สึกมีคุณค่า/ความนับถือต่อตนเอง
การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจ ป้องกันการสูญเสียคุณค่าและนับถือตนเอง
อาการอุจจาระร่วง/ ท้องเสีย
ถ่ายเป็น น้้าเหลว 3 ครั้งในเวลา 12 ชั่วโมง หรือถ่ายเป็นน้้าปนมูกเพียงครั้งเดียว
สาเหตุ
ภายในระบบทางเดินอาหาร
ภายนอกระบบทางเดินอาหาร
ผลของอุจจาระร่วง/ ท้องเสีย
สูญเสียอาหาร น้ า อิเล็กโตรไลท์
เกิดภาวะกรดเกินในร่างกายได้
ปวดท้องเนื่องจากการบีบตัวของลำไส้
การพยาบาล
การใช้ยา
สอนวิธีการปฏิบัติตัว
อาหาร
การพักผ่อน
ติดตามประเมินอาการ
ทดแทนน้ำและเกลือแร่ให้พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย
เฝ้าระวัง ป้องกัน และช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
บันทึกปริมาณน้ำที่ได้รับ/ที่ขับออกจากร่างกายประเมินภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่เป็นระยะ ๆ
สังเกตและบันทึก เกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
เป็นการที่ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดจากส่วน ของลำไส้เปิดออกทางหน้าท้อง (Ostomy)
รูเปิด เรียกว่า stoma
Colostomy
Ileostomy
การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้
ระยะที่ 2 หลังผ่าตัด 7-10 วัน แผลผ่าตัดจะเริ่มติดดี และเริ่มมีอุจจาระออกทาง stoma ให้ใช้สำลีสะอาด
ระยะที่ 3 หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์ แผลจะยุบบวมและมีขนาดคงที่ ทำความสะอาดด้วยน้ำและสบู่อ่อน
ระยะที่ 1 หลังผ่าตัด 4-5 วัน ทำความสะอาดแบบการทำแผลด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
การพยาบาล
ในรายที่สามารถฝึกการขับถ่ายเป็นเวลาได้ ไม่จำเป็นต้องปิดถุงรองรับไว้ตลอดเวลาก็ได้ แต่ถ้าไม่มั่นใจจะติดไว้ตลอดเวลาก็ได้
การปิดถุงรองรับอุจจาระ
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกายและการทำงาน
การฝึกหัดการขับถ่าย
ภาวะแทรกซ้อน
การสวนอุจจาระ (Enema)
การใส่สารอาจจะเป็นน้ำ น้ำมัน หรือสารเคมีเข้าไป
ในลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง โดยผ่านทางทวารหนักเพื่อกักเก็บไว้หรือขับถ่ายออก
วัตถุประสงค์
เพื่อเตรียมตรวจทางรังสี
เพื่อเตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เพื่อลดปัญหาอาการท้องผูก
เพื่อเตรียมคลอด
เพื่อการรักษา
ชนิดของการสวนอุจจาระ
การสวนล้าง
ทำให้เกิดการระคายเคืองของ Colon หรือ Rectum
กระตุ้นให้ลำไส้เคลื่อนไหว และขับอุจจาระออกมา
การสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่
วัตถุประสงค์
บรรเทาอาการท้องผูก
อุจจาระอัดแน่น
ล้างลำไส้ใหญ่ให้สะอาด
ใช้ในการเตรียมตรวจ ผ่าตัด หรือการ X – ray
ช่วยให้การขับถ่ายเป็นปกติ
แบ่งการสวนอุจจาระตามชนิดของน้ำยาที่ใช้สวนล้าง
การสวนด้วยน้ำสะอาด
ไม่ใช้ใน ผู้ป่วย อิเล็กโตรไลท์ไม่สมดุล และเด็ก
การสวนด้วยน้ำสบู่
ทำให้เกิดลำไส้อักเสบได้
ถ้าสบู่ร้อนเกินอาจเกิด Methemoglobinemia ร่างกาย
เขียวคล้ำ หายใจลำบาก ชีพจรเต้นเร็ว
การสวนด้วยน้ำเกลือ NSS
ใช้ในผู้ป่วยเด็ก ผู้ปุวยลำไส้อักเสบ
หลีกเลี่ยงใช้ในผู้ปุวยโรคหัวใจ ผู้ปุวยที่มี Na คั่ง
การสวนด้วยน้ำยาสำเร็จรูป (Fleet enema)
เป็นสารละลายโซเดียม ออกฤทธิ์เร็ว 5 นาที
การสวนด้วยน้ำมัน (oil enema) กรณีอุจจาระอุดตัน
การสวนเก็บ
เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่จำนวนน้ำยาที่ใช้ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 cc.
วัตถุประสงค์
Oil - retention enema
เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้นในลำไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema
เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อลดเชื้อ
แบคทีเรียในล าไส้ใหญ่ ก่อนผ่าตัดเกี่ยวกับล าไส้ใหญ่ /การสวนเพื่อการวินิจฉัยโรค เช่น การท า Barium enema เป็นต้น
ข้อควรคำนึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้ำ
ปริมาณของสารน้ำขึ้นกับอายุและขนาดของร่างกายผู้ป่วย
ผู้ใหญ่ใช้ 750 – 1,000 ml.
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุต เหนือระดับที่นอน
ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ าไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ5-10 นาที เพื่อให้ผู้ป่วยเก็บน้ำได้หมด
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้ สอดลึก 2-4 นิ้ว
การหล่อลื่นหัวสวน: หล่อลื่นด้วย KY jelly
ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ
จัดท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ า (Sim’s positon) ให้เข่าขวางอขึ้นมาก ๆ
ทิศทางการสอดหัวสวน
ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้ว
หลังจากปล่อยน้ำผู้ป่วยจะทนไม่ได้
การแก้ไขเมื่อน้ำในหม้อสวนไม่ไหล ได้ถูกต้อง
เปิดเผยผู้ป่วยเฉพาะที่จำเป็นให้เกียรติต่อผู้ปุวยเสมอ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจหาความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร เช่น ภาวะติด
เชื้อ ภาวะเลือดออก มะเร็งในลำไส้ใหญ
Stool Culture
Stool occult blood
Stool Examination
วิธีเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ควรอธิบายให้ผู้ปุวยเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การเก็บตัวอย่างที่ต้องปลอดการปนเปื้อนปัสสาวะ น้ า และ
สิ่งปนเปื้อนอื่น ๆ เช่น กระดาษทิชชู เป็นต้น
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
วิธีเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ถ้าตรวจหาพยาธิ ควรเก็บชิ้นส่วนของอุจจาระที่คาดว่าผิดปกติ(มีมูก) จำนวนเล็กน้อย
ตรวจหาเลือดแฝงให้งดอาหารที่มีเลือดปน /ยาที่มีธาตุเหล็ก
เก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด และใส่ถุงพลาสติกหุ้มอีกชั้น
ส่งห้องปฏิบัติการทันที(30นาที )พร้อมใบส่งตรวจ
บันทึก จ านวน สี ลักษณะ อุจจาระลงบันทึกทางการพยาบาล
ภาชนะที่ใช้เก็บอุจจาระส่งตรวจ
วิธีเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
(Stool culture)
การเก็บอุจจาระเพื่อเพาะหาเชื้อ (Culture)
ภาชนะที่ใช้เก็บตัวอย่างอุจจาระต้องปลอดเชื้อมีอาหารเลี้ยงเชื้อ
ภาชนะเก็บที่ อุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซียส
กระบวนการพยาบาล
ในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ท้องผูกเนื่องจากใช้ยาระบายเป็นประจำ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อลดอาการท้องผูก
เกณฑ์การประเมินผล
ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้
อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้ าให้เพียงพอกับความต้องการของ
ร่างกาย ควรดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
แนะนำให้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม
ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรไทย
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ลดความเครียดหรือวิตกกังวล
ฝึกเข้าห้องน้ าถ่ายอุจจาระเป็นเวลาในตอนเช้าตรู
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน