Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสรมิการขับถ่ายอุจจาระ, 9B9ED369-9AED-4081-834E-DDD91C6904B9,…
การส่งเสรมิการขับถ่ายอุจจาระ
3 ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ชนิดของอุจจาระ
Type 4 Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5 Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 3 Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 6 Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool (ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2 Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7 Watery, no solid pieces (entirely liquid) (ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
Type 1 Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass) ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
ลักษณะของอุจจาระ
ลักษณะ
ความถี่
กลิ่น
รูปร่าง
สี
อื่นๆ
2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายอุจจาระ ได้แก่
7 ความเหมาะสม (Opportunity)
8 ยา (Medication)
6 ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
9 การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
5 อารมณ์ (Emotion)
10 อาการปวด (Pain)
4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย(Body movement)
11 การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
3 ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
12 การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
1 อายุ (Age)
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายอุจจาระแต่ควบคุมและฝึกให้เป็นพฤติกรรมได้ ได้แก่
การควบคุมอารมณ์
การเคลื่อนไหวของร่างกายและการทากิจกรรมประจำวัน
พฤติกรรมการขับถ่ายเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ
การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ชนิดของอาหารและปริมาณน้ำที่ได้รับ
การใช้ยารักษาโรคและอาการ
1 ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
Reflex
เมื่อรับประทานอาหารทาให้เกิดการยืดขยายของ ลาไส้ส่วนต้น เกิดเคลื่อนไหวแบบ Peristalsis บีบ ก้อนอาหาร และขับอุจจาระออกไป
ถ้าอุจจาระเคลื่อนตัวจาก Sigmoidจนถงึ Rectum จะเกิดการปวดถ่ายอุจจาระเป็นสัญญาณเตือน
การขับถ่ายอุจจาระ (Defecation)
ลำไส้ใหญ่ทาหน้าที่สะสมกากอาหารและดูดซึมสารอาหารที่มี ประโยชน์ต่อร่างกาย (น้า แร่ธาตุ วิตามิน และกลูโคส) ออก จากกากอาหาร ทำให้กากอาหารเหนียวและข้นจนเป็นก้อนแข็ง
ลาไส้จะบีบตัวเพื่อให้กากอาหารเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลาไส้ตรง และขับถ่ายสู่ภายนอกร่างกายทางทวารหนัก ที่เรียกว่า อุจจาระ
เป็นกระบวนการของร่างกายในภาวะปกติ ที่ขับของเสียอันเกิด จากการย่อยอาหาร
การควบคุมของสมอง
มีแรงกดที่ลำไส้ใหญ่
อุจจาระถูกขับออกมาเร็ว
แรงดันช่องท้องเพิ่มขึ้น
อาศัยการเบ่ง: การหดตัว กล้ามเน้ือหน้าท้อง กระบังลม
และ กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
4 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
3 ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
2) อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด
3) ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
2 สาเหตุจากได้รับยาระงับปวดที่มีอาการข้างเคียง
3 สาเหตุจากอาหารไม่ย่อย
1 สาเหตุจากการถูกจากัดการเคลื่อนไหว
1) จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
1 สาเหตุ
2) มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
3) มีการสะสมของอุจจาระมาก
1) มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก
4) ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
4 การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่กลั้นอุจจาระไม่ได้
1 ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
2) ผลด้านจิตใจ
3) ผลด้านสังคม
1) ผลด้านร่างกาย
4) ผลด้านจิตวิญญาณ
2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
3 การล้วงอุจจาระ (Evacuation) คือ การล้วงอุจจาระออกโดยตรง
4 อุปกรณ์เครื่องใช้
2) สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
3) ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
1) ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย (Mask)
4) หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสาหรับใช่อุจจาระ
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
5 วิธีปฏิบัติ
1 สาเหตุ อาการเริ่มแรก คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
5 ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องเสีย
1 สาเหตุของภาวะท้องเสีย
1 ภาวะท้องผูก (Constipation)
1 สาเหตุ ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
2) ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
(3) ความผิดปกติในการทำหน้าที่ของไขสันหลัง
(4) ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลาไส้และเกี่ยวข้องกับ ความผิดปกติของประสาทที่ลาไส้ และการติดยาระบาย
(2) การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
(5) การทำหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
(1) ฝิ่น
(6) ภาวะผิดปกติของลาไส้ มีความสัมพันธ์กับภาวะท้องผูก
2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
4) แบคทีเรียในลำไส้
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
5) ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
1) เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียนปวดศีรษะวิงเวียน
6) การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
3 การพยาบาลผู้ปชป่วยที่มีภาวะท้องผูก
4) แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่าย อุจจาระให้เป็นเวลา
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
3) แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอ
6) แนะนำให้ออกกำลังกาย
2) แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
7)สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
1) แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
8) แนะนำสมุนไพรซ
6 การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
2 การทำความสะอาดแผลทวารเทียม
3 คาแนะนำสำหรับผู้ปุวยผ่าตัดเปิดลาไส้ทางหน้าท้อง
1 การพยาบาลผู้ป่วยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
6 ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
1 อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
3) ท่านอนของผู้ป่วย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่า (Sim’s position)
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
5) การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
1) อุณหภูมิของสารน้ำ อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105 ̊F (40.5 ̊C)
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
2 ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระมีข้อห้ามที่ไม่ควรทำในผู้ป่วยต่อไปนี้
2) มีการอักเสบของลาไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นต้น
3) มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
1) ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
4) ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจาจาระ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
การวางแผน
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
แนะนำให้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม
ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรไทยช่วยในการขับถ่ายอุจจาระทดแทนการใช้ยาระบาย โดยนำมาปรุงเป็นอาหาร
อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้าให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลาไส้
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจำ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S: “ทานยาระบายก่อนนอนเป็นประจาทุกคืน ไม่ชอบอาหารประเภทผัก และผลไม”
O: จากการตรวจร่างกาย พบAbdomen: Distension, Tympanic sound, Decreasebowel sound 1-2 time/min
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
7 การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2 อุปกรณ์เครื่องใช้
3) ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษชาระ
2) ใบส่งตรวจ
5) หม้อนอน
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
3 วิธีปฏิบัติ
2) การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
(2) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(3) ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
(1) ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย
1) การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ และส่งตรวจหาเลือดแฝง
(2) ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
(3) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(1) อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่ง ตรวจ
(4) ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
1 ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
5 การสวนอุจจาระ
2 ชนิดของการสวนอุจจาระ แบ่งเป็น 2 ชนิด
1 Cleansing enema
2 Retention enema
3 อุปกรณเ์ครื่องใช้
6) กระโถนนอน (Bed pan)
7) ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
5) กระดาษชำระ
8) ผ้ายางกันเปื้อน
4) ชามรูปไต
9) สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
3) สารหล่อลื่น
10) เหยือกน้ำ
2) หัวสวนอุจจาระ
11) เสาน้ำเกลือ
1) หม้อสวน
12) ถุงมือสะอาด 1คู่ และ Mask
1 วัตถุประสงค์
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
2) เตรียมตรวจทางรังสี
5) เพื่อการรักษา
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก