Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
7การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2อุปกรณ์เครื่องใช้
3) ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษช าระ
2)ใบส่งตรวจ
5)หม้อนอน
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
3 วิธีปฏิบัติ
1)การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติและส่งตรวจหาเลือดแฝง มีวิธีการปฏิบัติ
(2) ให้ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้งใช้ไม้แบนเขี่ยอุจจาระจำนวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ รีบปิดภาชนะทันที และใส่ถุงพลาสติกหุ้มอีกชั้น
(3)ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(1)อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ระวังการปนเปื้อนปัสสาวะ น้ำ และสิ่งปนเปื้อนอื่น
(4)ลงบันทึกทางการพยาบาลลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
2)การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อมีวิธีการปฏิบัติ
(2) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
(3)ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
(1) ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสำลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
1ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2)การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
3)การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
1)การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
3.การวางแผนการพยาบาล(Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
2.มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีกากใย
3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระ
1.ถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
การวางแผนวางแผนให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพเรื่องการโรคของระบบทางเดินอาหารและลำไส้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
4.การปฏิบัติการพยาบาล
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้
4.แนะนำให้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้ลำไส้ได้เคลื่อนไหวช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ
อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้ำให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10แก้ว
ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรไทยช่วยในการขับถ่ายอุจจาระทดแทนการใช้ยาระบายโดยนำมาปรุงเป็นอาหาร
6.ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
7.ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ลดความเครียดหรือวิตกกังวลช่วยทำให้นอนหลับสบายตื่นเช้าจะได้สดชื่นและเข้าห้องน้ำถ่ายอุจจาระเป็นเวลาในตอนเช้าตรู่
1.แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
5.การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
2.เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
1.มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
2ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
7 ความเหมาะสม(Opportunity)สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้ำไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ และทำให้เกิดอาการท้องผูกได้และท่าทางในการขับถ่ายท่านั่งจะช่วยในการขับถ่ายได้สะดวก
6 ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน การรับประทานอาหาร น้ำ รวมทั้งการออกกำลังกาย และการพักผ่อน
9 ยา(Medication)อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดินอาหารอาจทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
5 อารมณ์ (Emotion)เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลงเช่น หงุดหงิด หรือวิตกกังวลเป็นต้น
10 การตั้งครรภ์(Pregnancy)เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกในครรภ์โตขึ้นมดลงก็ขยายตัวโตด้วย ทำให้จะไปเบียดกดลำไส้ส่วนปลาย
4 การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement) การเคลื่อนไหวของร่างกาย จะช่วยทำให้การทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
11 อาการปวด (Pain)โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรง และการผ่าตัดหน้าท้อง เมื่อมีอาการปวดถ่ายอุจจาระผู้ป่วยจะไม่ยอมเบ่งถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บทำให้อั้นอุจจาระไว้ จึงส่งผลให้เกิดอาการท้องผูกตามมา
3 ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)น้ำจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้งแข็งเกินไป ทำให้อุจจาระอ่อนตัว และยังช่วยกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ได้ดี
12 การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery andAnesthesia)การดมยาสลบชนิดทั่วไป (General anesthesia: GA) เป็นสาเหตุของการเกิดPeristalsisลดลง และขณะทการผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลำไส้ทำให้เกิดPeristalsisลดลงชั่วคราว
2 ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)อาหารจ าพวกพืชผักผลไม้ ที่มีกากใยมาก
13 การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)การตรวจวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหารส่งผลรบกวนการทำงานของลำไส้ชั่วคราว ซึ่งมีความจำเป็นต้องทำให้ลำไส้สะอาด ผู้ป่วยต้องได้รับ การงดน้ำและอาหาร (NPO) หรือรับประทานอาหารเหลวใส (Clear liquid) หรือทำการสวนอุจจาระ(Enema) จนทำให้ลำไส้สะอาดก่อนการส่งตรวจเรียกว่า “การเตรียมลำไส้”(Bowel prep)
1 อายุ (Age)ในเด็กเล็ก ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุ
3ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ได้จัดแบ่งชนิด และลักษณะของอุจจาระไว้
Type 4 : Like a sausage or snake, smooth and soft(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5 : Soft blobs with clear-cut edges(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 3 : Like a sausage but with cracks on surface(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่มๆ)
Type 6 : Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุยมีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 2 : Sausage shaped but lumpy(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 7 : Watery, no solid pieces(entirely liquid)(ลักษณะเป็นน้ าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
Type 1 : Separate hard lumps, like nuts(Difficult to pass)ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่วคนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
ลักษณะของอุจจาระปกติ ผิดปกติและสาเหตุ
ลักษณะ
ปกติ อ่อนนุ่ม
ผิดปกติ เหลว : ท้องเสียหรือการดูดซึมลดลง แข็ง : ท้องผูก
ความถี่
เด็ก
เด็ก: (นมมารดา)วันละ4-6ครั้ง (นมขวด)วันละ1-3ครั้ง
มากกว่าวันละ6ครั้งหรือ 1-2วัน ครั้งเดียว
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
ผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่: วันละ 2ครั้งหรือ สัปดาห์ละ3 ครั้ง
มากกว่าวันละ 3ครั้งหรือ สัปดาห์ละครั้ง
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
กลิ่น
มีกลิ่นเฉพาะ: จากอาหารตกค้าง กลิ่นเปลี่ยนเหม็นมาก การติดเชื้อจากเลือดในอุจจาระ
อื่นๆ
อาหารไม่ย่อย, แบคทีเรียที่ตายแล้ว, ไขมัน, สีน้ำดี, เซลล์หรือเยื่อบุลำไส้, น้ำ
ผิดปกติ
อุจจาระเป็นน้ ามันเยิ้ม
เป็นมูก
เลือด, หนอง, มูก,แปลกปลอม, พยาธิ
สาเหตุ
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร,รับประทานอาหารบูด, มีการระคายเคือง, มีการอักเสบ,และมีพยาธิ
กลุ่มอาการพร่องการดูดซึม, ลำไส้อักเสบ, โรคของตับอ่อน, มีการผ่าตัดเกี่ยวกับลำไส้
มีการระคายเคืองของลำไส้, มีการอักเสบ, มีการติดเชื้อหรือได้รับอันตราย
สี
เด็ก : สีเหลืองขาว หรือคล้ายดินเหนียวไม่มีน้ าดี
ผู้ใหญ่:สีน้ำตาลดำ (Melena)มีธาตุเหล็กปนอยู่หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร แดง : มีเลือดออกในทางเดินอาหารมีริดสีดวงทวารหรือบริโภคผักเช่นหัวผักกาดแดงหรือผลไม้เช่น แก้วมังกรสีแดง. ซีดและเป็นมันเยิ้ม : พร่องหน้าที่การดูดซึมของไขมัด
รูปร่าง
เท่ากับขนาดความกว้างของลำไส้ตรง ขนาดเล็กคล้ายดินสอ มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมีการบีบตัวของล าไส้เพิ่มขึ้น
1ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
อุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้ำประมาณร้อยละ70-80
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจท าให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ยิ่งถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้นย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้มากขึ้น
4สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
2 การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
3 การล้วงอุจจาระ (Evacuation)คือการล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้ อุจจาระจับเป็นก้อนและไม่ถูกขับออกมาตามปกติ ประมาณ 4-5 วัน หรือมีอาการท้องอืดตึง
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ การช่วยเหลือเอาก้อนอุจจาระออกจากร่างกายโดยการล้วงอุจจาระ (Evacuation) และอาจใช้ยาระบายเพื่อทำให้ก้อนอุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่นหรือการสวนอุจจาระในกรณีที่ใช้ยาไม่ได้ผล
1 สาเหตุ อาการเริ่มแรกคือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระเป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้
5ภาวะท้องเสีย
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
2)จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
1) เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
2)เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้และการถ่ายอุจจาระหลาย ๆ ครั้ง เป็นการรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันและการพักผ่อน
3ภาวะท้องอืด
1 สาเหตุ
2)มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
3)มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
1) มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมากเกินไปหรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
4) ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ตับโต ม้ามโต ท้องมานน้ำ(Ascites)
2 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
1)จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60องศาเพื่อให้กระบังลมหย่อยตัว ปอดขยายตัวได้ดีขึ้นลดอาการแน่นหน้าอกและทำให้หายใจสะดวก
2) อธิบายสาเหตุและวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดอาการท้องอืด แสดงความเห็นอกเห็นใจและให้กำลังใจ
3) ค้นหาสาเหตุของอาการท้องอืดและให้การช่วยเหลือตามสาเหตุ
4การกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
1)ผลด้านร่างกาย
เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและอาจเกิดแผลจากการระคายเคืองเสียดสีของผิวหนังบริเวณรอบรูทวารซึ่งผิวหนังมีลักษณะอ่อน และเกิดความสกปรกเปรอะเปื้อนของเสื้อผ้าและเครื่องใช้
2) ผลด้านจิตใจ
อุจจาระเป็นเรื่องของความไม่สะอาดทั้งกลิ่นและสิ่งขับถ่าย อุจจาระจึงทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง
3) ผลด้านสังคม
เมื่อการกลั้นอุจจาระไม่ได้ เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม หรือพบปะผู้คนโดยไม่มีเหตุจำเป็น จึงกลายเป็นคนแยกตัวออกจากสังคม
4) ผลด้านจิตวิญญาณ
งผลให้ด้านจิตวิญญาณคือ ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง และขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนากลัวสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตนเองในอนาคต
1ภาวะท้องผูก(Constipation)
1.1 สาเหตุภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น2 ประเภท
1) ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิโดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อยภาวะขาดน้ำการเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
2)ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิอาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยามีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
1.2 ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
2) เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
3) เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)เกิดจากอุจจาระที่แห้งแข็งกด
หลอดเลือดำารอบๆ ทวารหนัก ทำให้เลือดไหลกลับไม่สะดวกเกิดโป่งพอง และแตกได้
1) เกิดอาการแน่นท้องท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
4) แบคทีเรียในลำไส้ จะเปลี่ยนยูเรียจากกากอาหาร เป็นแอมโมเนียดูดซึมเข้ากระแสเลือดไปยังสมองในผู้ป่วยโรคตับจะเกิดอาการHepatic encephalopathy
5) ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง หรือผนังลำไส้หย่อนตัวเป็นถุงสะสมอุจจาระไว้ พบในผู้ป่วยสูงอายุ หรือผู้ปุวยอัมพาต
6)การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence) เนื่องจากก้อนอุจจาระไปกดปลายประสาทของกล้ามเนื้อหูรูดที่ควบคุมการขับถ่ายสูญเสียหน้าที่
1.3 การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
3) แนะน ากระตุ้น และช่วยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอควรดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 2,000–2,500cc.
4) แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ และควรฝึกระบบขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
2) แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารที่มีเส้นใยและกากมาก ๆ
5) จัดสรรเวลาในตอนเช้าเพื่อฝึกให้เคยชินกับการถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน
1) แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
6) แนะนำให้ออกกำลังกาย
8) แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหารหรือนำมาปรุงอาหารจะช่วยการขับถ่ายอุจจาระใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ เช่น แกงขี้เหล็ก แกงส้มผักกระเฉด กล้วยน้ำว้าสุก
7) สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่ายพยายามลดการใช้จนสามารถเลิกใช้ยาระบาย
6การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
ชนิดของStoma ที่เป็นช่องทางขับถ่ายอุจจาระ
1.Colostomyเป็นทวารหนักชนิดลำไส้ใหญ่ ลำไส้ที่นำมาเปิดออกหน้าท้อง
5การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
2)เตรียมตรวจทางรังสี
5) เพื่อการรักษาเช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดใน
ผู้ป่วยโรคตับ
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enemaเป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Retention enemaการสวนเก็บเป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
6ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
ความปลอดภัยของการสวนอุจจาระมีข้อควรระวังในการสวนอุจจาระ
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในล าไส้และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว สายยางที่ใช้ควรเป็นชนิดที่อ่อนนุ่ม โค้งงอได้ง่าย
7)การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่นKY jellyเป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1นิ้วในเด็ก
5)การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ำไหลช้าๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน10-15 นาทีเพื่อให้ผู้ป่วยเก็บน้ำได้หมด
8)ทิศทางการสอดหัวสวนให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอนในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
9)ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่หลังจากที่ปล่อยสารน้ำเข้าไปในลำไส้ใหญ่จนผู้ป่วยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ป่วยหายใจทางปากยาวๆ
3) ท่านอนของผู้ป่วยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ
10)การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติจากสาเหตุที่ผู้ป่วยเบ่งควรบอกให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจเข้ายาวๆแต่หากเกิดจากปลายหัวสวนติดผนังลำไส้ ให้ถอยหัวสวนออกมาเล็กน้อยหลังจากเลื่อนหัวสวนแล้ว
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
1)อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F (40.5 ̊C)
1อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระในการสวนอุจจาระให้แก่ผู้ป่วยมีอาการแทรกซ้อนที่ควรต้องสังเกตและติดตาม
3)ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
4)การติดเชื้อเช่นลำไส้อักเสบ ตับอักเสบ
2)ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
5)การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลำไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
1)การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
6)ภาวะ Methemoglobinemiaเป็นภาวะที่เม็ดเลือดแดงในร่างกายลดความสามารถในการขนส่งออกซิเจนลง
2ข้อห้ามในการสวนอุจจาระการสวนอุจจาระมีข้อห้ามที่ไม่ควรทำในผู้ป่วย
2)มีการอักเสบของลำไส้
3)มีการติดเชื้อในช่องท้อง
1)ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
4)ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย