Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (ศาสนาพุทธ) -…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
(ศาสนาพุทธ)
หลักคำสอน
ศาสนาพุทธ กล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์ หมายถึง กฏของธรรมชาติ
อนิจจัง คือ : ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
ปัจจฺตํ เวทิตตโพ วิญญูหิ
พระธรรมอันผู้บรรลุจะพึงรู้เฉพาะตัว
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
อริยสัจ
4 ประการ
มรรค
เหตุ, ควรเจริญ
นิโรธ
ผล,ควรบรรลุ
ทุกข์
ผล,ควรรู้
สมุทัย
เหตุ,ควรละ
เหตุและผลของการเกิดแห่ง
ทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
การปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
เรื่องสำคัญ 3 ประการ
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
ศีล 5 (เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ)
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
ได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญแต่ความดี การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
พระพุทธเจ้าประชวรด้วยโรคลม ทรงหายด้วยน้ำอ้อยละลายน้ำร้อน
สูดก้านอุบลเพื่อให้ขับถ่ายไม่ควรเสวยพระกระยาหารที่ปรุงด้วยน้ำต้มผักต่าง ๆ จนกว่าพระวรกายจะเป็นปกติ
พระพุทธเจ้าประชวรด้วยโรคลมที่เกิด
ในพระอุทร ครั้งก่อนรักษาด้วยการเเสวยยาคู
ปรุงด้วยของสามอย่าง คือ งา ข้าวสาร และถั่วเขียว ไม่นานก็หาย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
โพชฌงค์ 7
การดูแลรักษาด้านสังคม
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ1 กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
ศีลข้อ 3 รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์
ศีลข้อ 4 การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 2การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเครียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 5เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองยังกระทบต่อผู้อื่น
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
ด้านร่างกาย
ปากแห้งใช้สำลีชุบน้ำสะอาดแตะที่ริมฝีปากแล้วทาง
ด้วยวาสลินหรือสีผึ้ง
ดวงตาแห้ง ให้
หยอดตาด้วยน้ำตาเทียม
การเบื่ออาหารมีผลดีมากกว่าผลเสียเพราะทำให้สารคีโตนในร่างกายเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายขึ้น
ามีเสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเสมหะ
ภาวะขาดน้ำในภาวะใกล้ตายนั้นจะกระตุ้นให้หลั่งสารเอ็นดอร์ฟินทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเป็นสุขและสุขสบายขึ้น
ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
จมูกแห้ง หมั่นทำความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้นไว้
ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
สิ่งที่ต้องการ คือมีความต้องการใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้าง ๆ แต่ความต้องการของคนจริง ๆ แล้วต้องการจากไปท่ามกลางคนที่รัก
สิ่งที่คนใกล้ตายกลัวมากที่สุดคือ การถูกทอดทิ้ง การอยู่อย่างโดดเดี่ยว
จิตที่แจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์
ก่อนจิตจะดับนั้น ต้องมีอารมณ์ อย่างใดหนึ่ง
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
3 ขั้น
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้ ระย่อท้อถอย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สำหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท เร่งขวนขวายปฏิบัติ ประกอบหน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
กล่าวคำอำลา
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
การให้ความรัก ความเข้าใจ
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับ
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอน
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายจึงมีอยู่ตลอดเวลาในระดับเซลส์และเนื้อเยื่อ
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตาย
ว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้
โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสม
การทำงานเป็นทีม
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
จิตวิญญาณ (Spiritual)
พระมหาประทีป
เป็นโครงสร้างส่วนหนึ่งของมนุษย์ที่
นอกเหนือจากร่างกายและจิตใจ
พระเวศ วะสี
จิตวิญญาณ เป็นจิตชั้นสูงที่ลดความเห็นแก่ตัวเห็น
แก่ผู้อื่น จิตที่เข้าถึงสิ่งสูงสุด คือนิพพาน
พรจันทร์ สุวรรณชาติ
จิตวิญญาณที่นำมาใช้ใน
วิชาชีพการพยาบาลคือพลังชีวิตของคนซึ่งแสวงหาจุดมุ่งหมายของสัมพันธภาพและการมีชีวิตรอด เป็นจิตวิญญาณ
ที่แสวงหาจุดมุ่งหมายของความรัก ความไว้วางใจ ความหวัง และการให้อภัยแก่ตนเองและผู้อื่น
พุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “เมื่อจิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่หวังได้ (ไปไม่ดีในอบายภูมิ)เมื่อจิต
ไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่หวังได้ (ไปสู่สุคติภูมิ)
การตายดี คือ การตายที่ปลอดจากความทุกข์ทรมานที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ของผู้ป่วย ญาติ และผู้ให้การรักษา