Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร - Coggle Diagram
บทที่ 4 ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร
3.ทักษะการพูดเชิงวิชาการ
ความหมาย
การพูดเป็นพฤติกรรมการสื่อความหมายของมนุษย์โดยอาศัย ภาษา ผ่านถ้อยคำ น้ำเสียง
องค์ประกอบของการพูด
ผู้พูด
เนื้อหาสาร
ผู้ฟังหรือผผู้รับสาร
สารหรือเครื่องมือที่ช่วยในการสื่อสาร
4.ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
ความหมาย
การที่มนุษย์พนานามถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ โดยอาศัยตัวหนังสือเป็นสื่อกลางในการทำความเข้าใจร่วมกัน
องค์ประกอบของย่อหน้า
1.ใจความสำคัญ คือมุ่งเสนอแก่ผู้อ่านแลพหนึ่งในย่อหน้านั้นต้องมีความสำคัญเพียงหนึ่งเดียว
2.ประโยคขยายความ เป็นประโยคที่จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียนได้อย่างชัดเจน
กลวิธีในการเขียน
4.ยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างเป็นการขยาย โดยยกตัวอย่างมาประกอบใจความสำคัญ
เปรียบเทียบ เป็นการเปรียบเทียบสิ่งที่ตรงกันข้าม เพื่อให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
3.ให้เหตุผล เป็นการเขียนขยาความเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนว่าเป็นเพราะอะไร
2.ให้คำจำกัดความ เป็นการอธิบายขอบเขตของความหมาย
1.ให้รายละเอียด เป็นวิธีการเขียนเกี่ยวกับใจความสำคัญ
2.ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมาย
การอ่านเป็นทักษะหนึ่งของมนุษย์ใช้สำหรับสืบค้นและเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความคิดและขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้รับสารแต่ละคน
การอ่านอย่างละเอียด แยกความสัมพันธ์ ของแต่ละส่วนได้
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
เพื่อความเพลิดเพลิน
เพื่อหาคำตอบ
เพื่อปฏิบัติตาม
เพื่อความรู้
ประโยชน์ของการอ่าน
ประโยชน์ต่อตนเอง
เกิดความรอบรู้ คนที่อ่านมาก จะเป็นคนทันสมัยอยู่เสมอ แต่การอ่านต้องคิดตามด้วย
ประโยชน์ต่อสังคม
เป็นการอ่านที่เกิดความรู้ และสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจของตนให้ดีขึ้น ทั้งยังเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขึ้น ให้มองเห็นความเป็นอยู่ ทุกข์ สุข ของเพื่อนมนุษย์
ขั้นตอน
2.วิเคราะห์
จำแนกและจับใจความว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร
แยกเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ คือ สำระสำคัญหรือข้อเท็จจริง
พิจารณาส่วนที่แยกไว้โดยละเอียด
3.สรุป
1.รวบรวมข้อมูล
4.ประยุกต์และนไปใช้
1.ทักษะการฟังเชิงรุก
ความหมาย
การฟังที่มีความหมายครอบคลุมทั้งการได้ยินเสียงที่อีกฝ่ายพูด โดยไม่ใช้ประสงการณ์ อคติ หรือคาดหวังของตนไป มีการคิดวิเคราะห์แยกแยะ จับประเด็นเพื่อทบทวนความถูกต้อง
การฟังด้วยใจ ฟังด้วยความอดทน เพื่อจะนำมาพัฒนาตัวเราเอง
ภาษากับการสื่อสารมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เพราะภาษามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ยากที่จะหลีกเลี่ยงกันได้ ดังั้นภาษาจึงเป็นหัวใจของการสื่อสาร