Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐาน การพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐาน
การพัฒนาหลักสูตร
ความหมายของหลักสูตร
ทาบา ให้ความหมายว่า เป็นแผนสำหรับการเรียนรู้
วิชัย วงษ์ใหญ่ ให้ความหมายว่า หลักสูตรมีความมายสองนัย ในวงแคบ คือวิชาที่สอน ในวงกว้างคือมวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้กับผู้เรียน
สงัด อุทรานันท์ สรุปความหมายของหลักสูตรไว้7ลักษณะ
รายวิชาหรือเนื้อหาสาระที่ใช้สอน
มวลประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้ผู้เรียน
กิจกรรมการเรียนการสอน
สิ่งที่สังคมคาดหมายหรือมุ่งหวังจะให้เด็กได้รับ
สื่อกลางหรือวิถีทางที่จะนำผู้เรียนไปสู่จุดหมายปลายทาง
ข้อผูกพันระหว่างผู้เรียนกับครูและสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
กระบวนการปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครู และสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
สรุปได้ว่า หลักสูตร คือมวลประสบการณ์ทั้งหลาย ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่โรงเรียนจัดให้ผู้เรียน
ความสำคัญของหลักสูตร
ธำรง บัวศรี กล่าวถึงความสำคัญของหลักสูตร 2ส่วน
1.ความสำคัญของหลักสูตรต่อส่วนรวม
หลักสูตรจะเป็นตัวชี้วัดว่ามีการสอนอะไร เน้นอะไร เนื่องจากหลักศุตรเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้แก่ประชากรในประเทศ
ความสำคัญของหลักสูตรต่อการเรียนการสอน
หลักสูตรช่วยชี้ให้เห็นแนวทางในการจัดมวลประสบการณ์แก่ผู้เรียน ว่าต้องใช้อะไรบ้าง ต้องใช้สื่อหรืออุปกรณ์อะไร ตรวจสอบประเมินผล
อย่างไร
วารีรัตน์ แก้วอุไร สรุปความสำคัญไว้9ประการ
เป็นแผนปฎิบัติงานหรือเครื่องชี้แนวทางของครู
เป็นข้อกำหนดแผนการเรียนการสอน
เป็นเอกสารของทางราชการ หรือธรรมนูญในการจัดการศึกษา เพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฎิบัติตาม
เป็นเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
เป็นแผนการดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา
กำหนดแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็ก
กำหนดลักษณะและรูปร่างของสังคมในอนาคต
กำหนดแนวทางให้ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความประพฤติที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
เป็นสิ่งบ่งชี้ถึงความเจริญของประเทศ
สรุปได้ว่า หลักสูตรมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเป็น
กรอบแนวทางการจัดการศึกษาของผู้สอนเพื่อพัฒนาคนให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถและความประพฤติ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมโดยรวม
รูปแบบของหลักสูตร
รูปแบบของหลักสูตรนั้นมีหลายรูปแบบ หลักสูตรที่สามารถนำปเป็นแนวทางในการออกแบบหลักสูตรได้ 9 รูปแบบดังนี้
1.หลักสูตรแบบเน้นเนื้อหาวิชา
2.หลักสูตรแบบหมวดวิชา
หลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและการดำรงชีวิต
4.หลักสูตรแบบแกนกลาง
5.หลักสูตรที่ยึดกิจกรรมและประสบการณ์
6.หลักสูตรแบบบูรณาการ
7.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
8.หลักสูตรแบบเอกัตบุคคล
9.หลักสูตรแบบส่วนบุคคล
ระดับของหลักสูตร
หลักสูตรถูกจำแนกไว้หลายระดับซึ่งมีนักการศึกษาได้จำแนกไว้ 5 ประการดังนี้
หลักสูตรระดับอุดมการณ์
2.หลักสูตรระดับปกติ
3.หลักสูตรระดับการเรียนรู้
4.หลักสูตรระดับปฎิบัติการ
5.หลักสูตรระดับประสบการณ์
วารีรัตน์ แก้วอุไร ได้สรุปโดยทั่วไปว่าหลักสูตรแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ตามแหล่งการสร้างหลักสูตร
1.หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท
หลักสูตรระดับท้องถิ่น
3.หลักสูตรระดับโรงเรียน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
เซลเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ ได้อ้างถึงใน (วิชัย ดิสสระ) ได้สรุปลักษณธของหลักสูตรที่ดีโดยพิจารณาจาดสิ่งต่อไปนี้
1.เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาสำคัญคลอบคลุม
เป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
3.เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนในได้โอกาสในการก้าวหน้าและเกิดอิสระในทางการเรียน
4.เป็นหลักสูตรที่ครูและนักเรียนเข้าใจตรงกัน
5.เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องสัมพันธ์กับการเรียนและการวัดผล
6.เป็นหลักสูตรที่ได้มีการอธิบายแก่นักเรียน และผู้ปกครองและบุคคลอื่นอย่างชัดเจน
7.เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้แสดงความคิดเห็น และให้ผลย้อนกลับเพื่อปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแก้ไข
8.เป็นหลักสูตรที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียนและชุมชนอย่างทั่วถึง
องค์ประกอบของหลักสูตร
หลักสูตรต้องมีองค์ประกอบอย่างครบถ้วนจึงจะสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้และหลักสูตร
มีองค์ประกอบดังนี้
1) จุดมุ่งหมายทางการศึกษา(Educational purpose)
2) ประสบการณ์ทางการศึกษา (Educational experience )
3) วิธีการณ์จัดประสบการณ์ ( Organizational of educational experience )
4) วิธีการประเมิน ( Determination of what to evaluate )
ธำรง บัวศรี ได้สรุปองค์ประกอบที่สำคัญของหลักสูตรไว้ 9 ปรการ ดังนี้
เป้าประสงค์และนโยบายการศึกษา
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
รูปแบบและโครงสร้างหลักสูตร
จุดประสงค์ของวิชา
เนื้อหา
จุดประสงค์ของการเรียนรู้
7.ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน
การประเมินผล
9.วัสดุหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน
กาญจนา คุณารักษ์ ได้สรุปองค์ประกอบของหลักสูตร ตามแนวคิดของทาบา ไว้ 4 ประการดังนี้
1.จุดประสงค์
2.เนื้อหา
3.วิธีการสอนและดำเนินการ
4.การประเมินหลักสูตร