Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับการพัฒนา - Coggle Diagram
บทที่ 6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับการพัฒนา
ความหมาย
ประเทศไทยเริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกตั้งแต่ปีพ.ศ.2504 โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษกิจและสังคมแห่งชาติ
จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
แผนระยะกลาง (Medium term/ Development Plan)
แผนปรับปรุงประจำปี (Annual Plan)
แผนระยะยาว (Perspective plan)
สาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519)
ส่งเสริมการส่งออก ปรับปรุงโครงสร้างกานำเข้า ยกระดับเร่งการผลิต
เน้นการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน ค่าครองชีพ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524)
ปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก
เน้นการกระจายรายได้ให้คนมีงานทำ
เน้นมุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจโดยขยายการผลิตด้านการเกษตร
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514)
เน้นเขตทุรกันดารและห่างไกลความเจริญ
เน้นการพัฒนาชนบทและช่วยเหลือชาวนา
ยึดตามแผนฉบับที่ 1 แต่ขยายแผนงานให้ใหญ่ขึ้นให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534)
เน้นการระดมเงินออมในประเทศ ประหยัดและมีประสิทธิภาพ
เน้นให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการพัฒนาประเทศ
เน้นพัฒนาฝีมือแรงงาน
ปรับโครงสร้างรัฐวิสาหกิจ
การกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509)
เน้นเฉพาะเรื่องการพัฒนาเศรษกิจเท่านั้น
โดยเฉพาะการลงทุนในสิ่งก่อสร้างขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นคมนาคมขนส่ง เขื่อน ชลประทาน ไฟฟ้า สาธารณูปโภค
ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529)
สร้างสมดุลในการแก้ไขปัญหาเศรษกิจและสังคมของประเทศ
เร่งการระดมเงินออม สร้างวินัยทางการเงิน
เน้นการแก้ไขปัญหาความยากจน
เพิ่มบทบาทความร่วมมือภาคเอกชนมากขึ้น
สาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549)
เน้นการนำแผนเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาประเทศแบบบูรณาการ
เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์
แก้ไขปัญหาความยากจน
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
อิงตามแผนฉบับที่ 9 เนื่องจากประเทศยังคงเผชิญกับปัญหาหลายด้านอันเนื่องจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ
เน้นเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544)
เน้น"คน"ให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา และใช้ "เศรษฐกิจ"เป็นเครื่องช่วยพัฒนา
เน้นการพัฒนาศักยภาพคน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อคน และคุณภาพชีวิตของคน
เนื่องจากประเทศประสบวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจอย่างรุนแรง "เศรษฐกิจฟองสบู่"
ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2558)
ป้องกันปัญหาอันเกิดจากวิกฤติการณ์ที่อาจเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศ หรือเศรษฐกิจโลก
เน้นความพอเพียงเพื่อให้ประชาชนในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ดีกินดี
เน้นการตั้งรับหากเกิดปัญหา
ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539)
เน้นการเติบโตทางเศรษกิจอย่างมีเสถียรภาพ
เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม
ฉบับ 12 (พ.ศ.2560-2564) ฉบับปัจจุบัน
หากเป็นด้านอุตสาหกรรมเน้นนวัตกรรมและเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
พัฒนาประเทศทุกมิติโดยเฉพาะทางด้านดิจิตอล
ยังคงเน้นภาคเกษตรกรรมแบบเกษตรอินทรีย์/ปลอดภัย
เน้นการพัฒนาทุกช่วงวัย และเน้นสร้างสังคมสูงวัยที่มีคุณภาพ
มุ่งเน้นการเปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง และเน้นการกระจายรายได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
บริหารราชการอย่างโปร่งใส ขจัดปัญหาทุจริตคอรัปชั่น
โมเดลประเทศไทย 4.0
มีการกำหนดวิสัยทัศน์เพื่อเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล เน้นเศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
เน้นการเปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่เป็นอยู่ ไปสู่เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยี
SMEs เป็น Smart SMEs หรือ Smart Enterprises
เน้นแรงงานที่มีทักษะความรู้ ความเชี่ยวชาญ
เกษตรกรสมัยใหม่ ผู้ประกอบการ
จากการที่ประเทศไทยติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ยาวนานกว่า 20 ปี นับตั้งแต่
ไทยแลนด์ 2.0 เน้นอุตสาหกรรมเบา
ไทยแลนด์ 3.0 เน้นอุตสาหกรรมหนักและการส่งออก
ไทยแลนด์ 1.0 เน้นการเกษตร
แนวคิดปกติในรูปแบบใหม่ (New Normal)
ทำให้แนวปฎิบัติที่คุ้นเคยอย่างปกติต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคย
เป็นลักษณะของสถานการณ์เศรษฐกิจของประไทยว่ากำลังค่อยๆฟื้นตัว แต่จะโตด้วยอัตราการเติบโตที่ต่ำและช้าลงกว่าเดิม
เป็นการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจากอดีต อันเนื่องมาจากบางสิ่งมากระทบ
โดยมุ่งเป้าที่จะเติบโตอย่างมีเสถียรภาพมากขึ้นและไม่เน้นอัตราการเติบโตอย่างหวือหวาอย่างในอดีต
ความปกติใหม่ หรือฐานวิถีชีวิตใหม่
ดังนโยบายตามแผนการพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืนหรือเรียกว่า แผน 20 ปี