Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกรฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง - Coggle Diagram
ยาที่ออกรฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
1 . ยากระตุ้นสมองส่วนซีรีบรัม
แอมเฟตามีน (Amphetamines) และแซนธีน (Xanthines)
ยาพวกแอมเฟตามีน (Amphetamines)
ยาพวก แอมเฟตามีน (Amphetamines)
มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขมนิดๆ มีสูตรทางเคมีคือ C9H13N
เป็นสารที่อยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
ประโยชน์ที่ใช้
ผู้ที่ป่วยด้วยพิษสุราเรื้อรัง
ผู้ที่มีอาการซึมเศร้า เช่น ผู้ที่อยู่ในวัยใกล้จะหมดประจำเดือน ผู้สูงอายุที่ขาดคนเอาใจใส่
โรคอ้วน โดยทำให้เบื่ออาหารแต่ถ้าหยุดใช้ยาทำให้อยากกินอาหารอีก
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ยาพวกนี้ทำให้ปากแห้ง มือสั่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ
ถ้าใช้ยาเกินขนาดจะทำให้ความดันเลือดสูง ไข้สูง คลุ้มคลั่ง ประสาทหลอน ชัก และอาจตายได้
แต่ถ้าใช้ยาติดต่อกันนานๆ จะทำให้สมองเสื่อม ตื่นเต้นตกใจง่าย นอนไม่หลับ น้ำหนักลด ประสาทอ่อน เป็นโรคจิตประเภทหวาดระแวง (Paranoid psychosis)
หรือที่เรียกว่า แอมเฟตามีน ซัยโคสิส (Amphetamine psychosis) ซึ่งถ้าหยุดใช้ อาการโรคจิตก็จะหาย
ข้อควรระวัง
ผู้ที่เป็นโรคความดันเลือดสูง หรือโรคเกี่ยวกับหัวใจอื่นๆ
ผู้ที่ต่อมธัยรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ (Hy¬perthyroidism)
ผู้ที่คลุ้มคลั่ง (Mania)
ผู้ที่ได้รับยากระตุ้นระบบประสาท ซิมพาเธติค (Sympathetics) หรือยาประเภทเอ็มเอโอไอ (Monoa¬mine Oxidase Inhibitors)
ยากระตุ้นก้านสมอง
ปิโครท๊อกซิน (Picrotoxin)
ปิโครท๊อกซิน พบมากในแถบอินเดียตะวันออก มีรสขมมักใช้เป็นยาพิษให้ปลากินมีฤทธิ์กระตุ้นศูนย์ต่างๆ ในก้านสมอง เช่น การหายใจ การเต้นของหัวใจ การหดตัวของหลอดเลือด การคลื่นไส้
เพ็นติลีนเตตราซอล ( Pentylenetetra¬zol )
ประโยชน์ที่ใช้
แก้พิษของยานอนหลับและยาสลบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่กดการหายใจ
ใช่กระตุ้นประสาทของคนชราที่ซึมเศร้า ความจำเสื่อม เลอะเลือนสับสน
ประโยชน์ที่ใช้
ใช้แก้พิษยานอนหลับและยาสลบ แต่แพทย์ส่วนใหญ่ไม่นิยมใช้เพราะควบคุมขนาดของยาลำบาก
ฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
ในขนาดยาที่สูงกว่าที่ใช้ในการรักษาเล็กน้อย
จะทำให้ชักกระตุก หมดสติและตาย
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ยานอนหลับและยาคลายกังวล (Sedative-hyptonic and anxioloytic drugs)
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง (CNS stimulants)
ยาต้านพาร์กินสัน (Antiparkinsonism drugs)
ยาต้านชัก (Antiepileptic drugs)
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drugs)
ยาต้านไมเกรน (Antimigrain drugs)
สารสื่อประสาท(neurotransmitter)
สารพวกกรดอะมิโน เช่น gamma aminobutyric acid(GABA),glycine,glutamate
Acetylcholine
สารพวก Amine เช่น cathecholamine(NE,dopamine)serotonin หรือ 5-HT และ histamine
สาร peptide เช่น opioids peptide
ยานอนหลับและยาคลายกังวล
Sedative drugs = ยาที่ทำให้ง่วง สลึมสะลือ หรือมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นภายนอกน้อยลง
Hyptonic = ยาที่ทำให้หลับ
Anxiolytic drugs = ยาคลายกังวล
ความกังวล (anxietiy) = การตอบสนองเพื่อปรับกระตุ้นที่เป็นอันตราย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์
กลไกการออกฤทธิ์
Benzodiazepine จับกับ GABAA receptors ที่ตำแหน่ง α และϒ subnit => ทำให้ GABA จับกับ GABAA receptorsได้มากขึ้น => Cl- ไหลเข้าเซลล์ประสาทมากขึ้น เกิด Hyperpolarization หรือลดการเกิด Depolarization
ผลทางเภสัชวิทยา
ลดความกังวลในขนาดยาที่ต่ำ ทำให้ง่วง(sedation)และทำให้หลับ(hyptonic) ทำให้เกิดการลืมแบบชั่วคราว มีฤทธิ์ทำให้หยุดชัก คลายกล้ามเนื้อลาย