Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบปฎิบัติการ - Coggle Diagram
ระบบปฎิบัติการ
ระบบต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.ระบบที่ไม่มีระบบปฎิบัติการ
จะมีเพียงเครื่องคอมเปล่า ๆ ผู้ใช้จะต้องเขียนโปรแกรม ป้อนคำสั่ง ตรวจสอบเองทุกขั้นตอน ทำให้มีประโยชน์น้อยมาก ไม่คุ้มค่า และราคาค่อนข้างแพง
2.ระบบงานแบตช์
จะทำงานได้ครั้งละ 1 งาน จะรวมงานที่รับมาจากนักพัฒนาโปรแกรมมาจัดเรียงตามความสำคัญ จัดเป็นกลุ่มงานและส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อ
3.ระบบบัฟเฟอร์
ขยายขีดความสามารถของระบบทำให้หน่วยรับ-แสดงผลทำงานได้พร้อม ๆ กับการประมวลผลของซีพียู
4.ระบบสพูลลิ่ง
สามารถทำได้ 2 งานพร้อมกัน คือ ส่วนประมวลผลของซีพียูกับการรับ-แสดงผลข้อมูล ต่างกับ ปัฟเฟอร์ที่ซีพียูและหน่วยรับ-แสดงผลทำงานร่วมกัน มีจ็อบพูล ที่ช่วยให้สามารถเลือกการประมวลผลลำดับก่อนหลังได้ ตามความสำคัญเป็นหลัก
5.ระบบมัลติโปรแกรมมิง
เป็นจุดกำหนดระบบปฎิบัติการ งานใดที่เข้ามาถึงก่อนจะทำการประมวลผลก่อน และจะหยุดรอคอยงานต่อไป เมื่อมีงานเข้ามาก็จะทำการประมวลทันที โดยไม่รอให้งานแรกเสร็จก่อน ระบบนี้มีการควบคุมที่ซับซ้อน ต้องมีการจัดเวลา ทรัยากร เพื่อเลี่ยงความขัดแย้งที่เรียกว่า เดดล็อก ที่ทำให้งานหยุดชะงัก (วงจรอับ)
6.ระบบแบ่งเวลา
เป็นการขยายระบบมัลติโปรแกรมมิง ทำให้สามารถสับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเข้าซีพียู สับเปลี่ยนด้วยความเร็วสูงทำให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนครอบครองซีพียูอยู่เพียงคนเดียว
7.ระบบเรียลไทม์
คือ ระบบเวลาจริง หมายถึง การตอบสนองทันที เช่น ระบบเซ็นเซอร์ ระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม
แบ่งได้เป็น 2 ระบบ
7.1 Hard Real-Time System
เป็นระบบที่ได้รับรองว่าจะได้รับการตอบสนองตรงเวลาและหยุดรอไม่ได้
7.2 Soft Real-Time System
เป็นระบบ Less Restrictive Type ที่สามารถรอให้งานอื่นทำให้เสร็จก่อนได้
8.ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้มุ้งเน้นด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่นำไปใช้เพื่อความบันเทิงภายในบ้านมากขึ้น ปัจจุบันมีสมาร์คโฟนที่ทำงานได้แบบคอมพิวเตอร์ ใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะมากขึ้น
9.ระบบเวอร์ชวลแมชชีน
เครื่องเสมือน ทำให้ผู้ใช้เหมือนใช้คอมพิวเตอร์เพียงคนเดียว แต่ในความจริงให้บริการผู้ใช้หลายคน
10.ระบบมัลติโปรเซสเซอร์
มีตัวประมวลหรือ CPU หลายตัวอยู่ในเครื่อง ทำให้ประมวลผลเร็วขึ้น
10.1 ทำให้การแสดงผลทำได้เร็วขึ้น
10.2 ประหยัดกว่าการใช้ระบบหน่วยประมวลผลเดี่ยวหลายเครื่อง
10.3 ความน่าเชื่อถือของระบบ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
ระบบหลายประมวลผลแบบแบ่งสัดส่วน
ระบบนี้จะแบ่งบรรทุกอย่าง โดยใช้หน่วยประมวลผลไม่เกิน 16 หน่วย
การประมวลผลขนานกันแบบกลุ่ม
สามารถใช้หน่วยประมวลผลได้มากถึง 200 หน่วยหรือมากกว่านั้น การติดตั้งระบบนี้มีความซับซ้อนยุ่งยาก เรียกว่าระบบไม่แบ่งบันอะไรเลย
11.ระบบแบบกระจาย
เป็นระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกัน เป็นศูนย์บริการและเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ในมาตรฐาน TCP/IP
หลักการทำงานของระบบปฎิบัติการ
1.เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์ CPU โดยใช้โปรแกรมหน่วยความจำรอม ควบคุมการทำงานเบื้องต้นตั้งค่าสำหรับการควบคุมอุปกรณ์วงจรรวมและอุปกรณ์ประกอบหลักในระบบ
2.ตรวจสอบความเรียนร้อย ทดสอบการทำงานของส่วนประกอบต่าง ๆ ในระบบว่าสามารถทำงานได้ตามปกติ
3.เมื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ถูกตรวจสอบทำงานได้อย่างปกติ จะตรวจสอบบันทึกเข้าข้อมูลหลัก
4.โปรแกรมควบคุมการทำงานเบื่องต้นจะส่งหน้าที่ให้ CPU ทำงานต่อไปยัวโปรแกรมบูทสแตรปโหลดเดอร์
5.โปรแกรมบูทสแตรปโหลดเดอร์จะทำการบูท
ระบบปฎิบัติการสามารถแบ่งออกตามลักษณะการทำงาน
ระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Stand - Alone
ระบบปฎิบัติการแบบฝัง
ระบบปฎิบัติการเครือข่าย
ระบบปฎิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ระบบปฎิบัติการแบบเปิด
โครงสร้างของระบบปฎิบัติการ
ส่วนประกอบของระบบ
บริการของระบบปฎิบัติการ
ซิสเต็มคอล
เวอร์ชวลแมชชีน
วัตถุประสงค์ระบบปฎิบัติการ
1.เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีผู้ใช้สามารถดำเนินการโปรแกรมได้
2.ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานง่ายขึ้น
3.ใช้ฮาร์ดแวร์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ส่วนประกอบของระบบปฎิบัติการ
1.ส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์
2.ระบบปฎิบัติการ
3.โปรแกรมประยุกต์และผู้ใช้
การเลือกใช้ระบบปฎิบัติการ
Unix เหมาะสำหรับเครื่อง Server มีความเสถียรที่สุดและต้องมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
MacOS ใช้สำหรับเครื่อง Mac เหมาะกับการทำงาน Graphic Design
Windows เป็นระบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ใช้งานง่าย
หน้าที่ของระบบปฎิบัติการ
1.ติดต่อกับผู้ใช้
2.ควบคุมการดูแลอุปกรณ์และการทำงานของคอมพิวเตอร์
3.จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
3.1 ทรัพยากรของระบบมีจำกัด
3.2 มีทรัพยากรอยู่หลายประเภท
3.3 ทรัพยากรหลักที่ระบบปฎิบัติการจัดสรร
ชนิดของระบบปฎิบัติการ
Single-Tasking
ใช้ได้คนเดียวและทำงานได้คนเดียวในช่วงเวลาหนึ่ง
Multitasking
ผู้ใช้คนเดียว แต่ทำงานได้หลายอย่าง
Multi-User Systems
ใช้ได้หลายคนและทำได้หลายงาน
การออกแบบและสร้างระบบปฎิบัติการ
เป้าหมายของการออกแบบ
กลไกและนโยบาย
การสร้าง
ประเภทของโปรแกรมระบบปฎิบัติการ
โปรแกรมที่ทำงานทางด้านควบคุม
1.1 โปรแกรมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์
1.2 โปรแกรมควบคุมงานด้านอื่น ๆ
ระบบปฎิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร์
2.1 MS-DOS
IO.Sys
MS-DOS.Sys
Command.Com
คำสั่งภายใน
คำสั่งภายนอก
2.2 ระบบปฎิบัติการ Windows 3X
2.3 ระบบปฎิบัติการ Windows 95
2.4 ระบบปฎิบัติการ Windows 98
2.5 ระบบปฎิบัติการ Windows Millennium Edition
2.6 ระบบปฎิบัติการ Windows NT
2.7 ระบบปฎิบัติการ Windows 2000
2.8 ระบบปฎิบัติการ Windows XP
2.9 ระบบปฎิบัติการ Windows 8
2.10 ระบบปฎิบัติการ Windows 10
2.11 ระบบปฎิบัติการ MacOs X
2.12 ระบบปฎิบัติการ OS/2 Warp Client
2.13 ระบบปฎิบัติการ Unix
2.14 ระบบปฎิบัติการ Linux
2.15 ระบบปฎิบัติการ Solaris
ความหมายและความสำคัญของระบบปฎิบัติการ
ระบบปฎิบัติการ เป็น โปรแกรมที่ถูกสร้างโดยซอฟต์แวร์หรือเฟิร์มแวร์ ใช้ควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ให้ประมวลผลได้ถูกต้องและเป็นผู้ประสานระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ทำงานร่วมกันได้
อะไรคือระบบปฎิบัติการที่แท้จริง
ระบบปฎิบัติการ เป็นได้ทั้งซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ เฟิร์มแวร์ หรือ ผสมผสานกันก็ได้ เป้าหมายหลักคือ ให้ผู้ใช้คอมใช้คอมพิวเตอร์ได้โดยไม่ต้องทราบกลไกการทำงานของฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการ คือ เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ระบบปฎิบัติการ คือ สร้างขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนหนึ่งของฮาร์ดแวร์
เฟิร์มแวร์ระบบปฎิบัติการ คือ เขียนโดยคำสั่งไมโครอินสตรัคชัน เป็นชุดคำสั่งที่ต่ำที่สุดของระบบคอมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงกว่าซอฟต์แวร์ แต่ยังช้ากว่าฮาร์ดแวร์ระบบปฎิบัติการ การแก้ไข ค่อนข้างยากและมีค่าใช้จ่ายสูง