Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะปกติอุจจาระจะมีส่วนประกอบเป็นน้าประมาณร้อยละ 70-80
เส้นใยอาหารประเภทเซลลูโลสและลิกนินซึ่งไม่ถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรียจะเหลืออยู่ในอุจจาระและช่วยอุจจาระอุ้มน้าไว้
รับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารต่ำ น้าหนักอุจจาระเฉลี่ยวันละ 75 กรัม ในคนที่บริโภคอาหารที่มีเส้นใยสูง น้าหนักอุจจาระอาจสูงถึงวันละ 500 กรัมได้ ในคนไทยโดยเฉลี่ยวันละ 150 กรัม
การขับถ่ายอุจจาระจึงเป็นสิ่งสาคัญ เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทาให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)
ความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายได้เมื่ออายุตั้งแต่ 24-30 เดือนขึ้นไป
ในเด็กเล็กอาจมีการถ่ายอุจจาระวันละหลาย ๆ ครั้ง
อายุมากขึ้นเซลล์กล้ามเนื้อจะลดขนาดลง และกาลังกล้ามเนื้อก็จะลดลง จึงลดจานวนครั้งของการขับถ่ายอุจจาระ แต่ในผู้สูงอายุมักจะมีปัญหา กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนยาน
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
อาหารจาพวกพืชผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมาก
ช่วยทำให้อุจจาระสามารถขับเคลื่อนได้ดีกว่าอาหารที่กากใยน้อย เนื่องจากจะช่วยเพิ่มน้าหนักอุจจาระ
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
น้ำจะเป็นตัวสำคัญที่ทำให้อุจจาระมีลักษณะนุ่มพอดี ไม่แห้ง แข็งเกินไป ทำให้อุจจาระอ่อนตัว และยังช่วยกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ได้ดี
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
ช่วยทำให้การทางานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติ ส่งผลให้มีถ่ายอุจจาระได้ปกติ
อารมณ์ (Emotion)
เมื่ออารมณ์มีการเปลี่ยนแปลงการทางานของระบบประสาท Sympathetic
มีการเปลี่ยนแปลง ทาให้ลาไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน ส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระได้
ความเหมาะสม (Opportunity)
สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย สถานที่ไม่เป็นส่วนตัว หรือห้องน้าไม่สะอาดส่งผลให้บุคคลไม่อยากถ่ายอุจจาระจึงกลั้นอุจจาระ และทาให้เกิดอาการท้องผูกได้
ยา (Medication)
อาการข้างเคียงของยาบางชนิดมีผลต่อระบบทางเดิน
อาหารอาจทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้
อาการปวด (Pain) โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) การผ่าตัดส่วนลำไส้ตรง (Rectal surgery) และการผ่าตัดหน้าท้อง (Abdominal surgery)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
เป็นสาเหตุของการเกิด Peristalsis ลดลง และขณะทำการ
ผ่าตัดจะไปกระทบกระเทือนการทำงานของลำไส้
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type 1
Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass) ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2
Sausage shaped but lumpy (ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft (ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges (ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool (ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface (ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 7
Watery, no solid pieces (entirely liquid) (ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
1) ลดปัญหาอาการท้องผูก
2) เตรียมตรวจทางรังสี
3) เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ป่วยจะต้องดมยาสลบ
4) เตรียมคลอด
5) เพื่อการรักษา เช่น การระบายพิษจากแอมโมเนียคั่งในกระแสเลือดในผู้ปุวยโรคตับ เป็นต้น
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้น
ให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
ทำให้เกิดการระคายเคืองของ Colon หรือ Rectum
ชนิดของน้ายาที่ใช้สวนล้าง
Tap water enema (TWE) เป็นการสวนเอาน้ำสะอาดเข้าในลำไส้ ไม่นิยมใช้ ในผู้ป่วยที่มีภาวะอิเล็กโตรไลต์ไม่สมดุล หรือผู้ป่วยเด็ก
Soap sud enema (SSE) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้าสบู่ผสมน้ำ ใช้น้ำสบู่เข้มข้น 15 ml. ในน้ำ 1,000 ml. แต่โดยทั่วไปมักผสมกับน้ำจนเป็นสีน้ำซาวข้าว
Normal saline solution enema (NSS enema) เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้สารละลาย 0.9 % NSS นิยมใช้ ในผู้ปุวยเด็ก ผู้ป่วยที่มีลำไส้อักเสบ ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคหัวใจวาย หรือผู้ป่วยที่มีการ คั่งของเกลือโซเดียมในร่างกาย
Fleet enema เป็นการสวนอุจจาระโดยน้ำยาสาเร็จรูปคือสารละลาย
Hypotonic เหมาะสาหรับ การสวนอุจจาระแก่ผู้ใหญ่ และผู้ที่ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับการคั่งของโซเดียมในร่างกาย
Oil enema เป็นการสวนอุจจาระโดยใช้น้ำมันพืช นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีอุจจาระอุดตัน ให้ผลหลังสวนประมาณ 30 นาที
Retention enema การสวนเก็บ
เป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
Oil-retention enema
เป็นการสวนเก็บน้ำมัน เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว กระตุ้น
ให้ลำไส้มีการบีบตัวดีขึ้น
Medicated enema
เป็นการสวนเก็บด้วยยา เพื่อให้ยาดูดซึมเข้าไปในร่างกาย
ทางทวารหนัก
อุปกรณ์ที่ใช้
1) หม้อสวน
2) หัวสวนอุจจาระ
3) สารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น
4) ชามรูปไต
5) กระดาษชาระ
6) กระโถนนอน (Bed pan)
7) ผ้าปิดกระโถนนอน (Bed pad)
8) ผ้ายางกันเปื้อน
9) สารละลายที่ใช้ในการสวนอุจจาระ
10) เหยือกน้า
11) เสาน้าเกลือ
12) ถุงมือสะอาด 1คู่ และ Mask
วิธีปฏิบัติ
1) การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน สะดวกในการปฏิบัติ
2) นำเครื่องใช้มาที่เตียง บอกผู้ป่วยให้ทราบถึงเหตุผลการสวน และวิธีการปฏิบัติตัวปิดม่าน เพื่อไม่เปิดเผยผู้ปุวยเกินความจาเป็น
3) ปูผ้ายางรองก้นบริเวณก้นของผู้ป่วย ป้องกันไม่ให้ที่นอนเปรอะเปื้อนและเปียกน้ำ
4) จัดท่านอนให้ถูกต้อง
5) คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณทวารหนักไม่เปิดเผย ลดอาการเกร็งของผู้ป่วยจากความเขินอายและทำให้เกิดความมั่นใจ
6) ล้างมือ สวมถุงมือ และต่อหัวสวนกับสายสวนให้แน่น ป้องกันหัวสวนหลุดเข้าช่องทวารหนักขณะสวนและทารั่วเปียกเลอะเทอะ
7) ปิด Clamp หัวสวนไว้ เทน้ายาใส่หม้อสวน แขวนหม้อสวนสูงกว่าระดับทวารหนักของผู้ป่วย 1 ฟุต
8) เปิด Clamp เพื่อไล่อากาศในสายสวน และหัวสวน ปิด Clamp หัวสวน หล่อลื่นหัวสวนด้วย KY jelly ไล่อากาศเพื่อทดสอบว่าหัวสวนไม่อุดตัน และไม่เป็นการนาลมเข้าลำไส้
9) บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการสวนอุจจาระ โดยการแตะหัวสวนที่ทวารหนักอย่างนุ่มนวลเบา ๆ ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดยก Buttock ให้เห็นช่องทวารหนัก บอกให้ผู้ป่วยหายใจยาว ๆ
10) สอดหัวสวนเข้าทวารหนักให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 3 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
11) จับหัวสวนให้แน่กระชับมือ เปิด Clamp ให้น้าไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ระหว่างทาการสวนให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาว ๆ สังเกตระดับน้าในหม้อสวนปล่อยน้าไปเรื่อย ๆ
11) จับหัวสวนให้แน่กระชับมือ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ระหว่างทาการสวนให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาว ๆ สังเกตระดับน้ำในหม้อสวนปล่อยน้ำไปเรื่อย ๆ
13) สอด Bed pan กั้นม่านให้มิดชิด หลังถ่ายเสร็จใช้ Bed pad ปิดคลุม Bed pan หรือในรายที่เดินได้ให้ผู้ปุวยลุกเดินไปห้องน้าเอง
14) เก็บเครื่องใช้ ทำความสะอาดให้เรียบร้อย ถอดถุงมือ ล้างมือให้สะอาด
ข้อคำนึงในการสวนอุจจาระ
1) อุณหภูมิของสารน้ำ อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 105˚F (40.5 ˚C)
2) ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดร่างกาย
เด็กอายุ 10 เดือน ถึง 10 ปี ใช้ในปริมาณ 250–500 ml.
เด็กอายุ 10–14 ปี ใช้ในปริมาณ 500–750 ml.
เด็กเล็ก ใช้ในปริมาณ 150–250 ml.
ผู้ใหญ่ ใช้ในปริมาณ 750–1,000 ml.
3) ท่านอนของผู้ปุวย ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ (Sim’s position)
ให้เข่าขวา งอขึ้นมาก ๆ ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถนอนตะแคงซ้ายได้
4) แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย ควรแขวนหม้อสวนให้สูงไม่เกิน 1 ฟุตเหนือระดับที่นอน ในเด็กเล็กไม่ควรเกิน 3 นิ้ว
5) การปล่อยน้ำ เปิด Clamp ให้น้ำไหลช้า ๆ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที ถ้าสารละลายปริมาณมากอาจใช้เวลานาน 10-15 นาที เพื่อให้ผู้ป่วยเก็บน้ำได้หมด
6) ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลาไส้ และลักษณะของสายสวนอุจจาระ การสอดสายสวนเข้าทวารหนัก สอดลึก 2-4 นิ้ว
7) การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น เช่น KY jelly เป็นต้น หล่อลื่นให้ยาวประมาณ 2-3 นิ้วในผู้ใหญ่ และ 1 นิ้วในเด็ก
8) ทิศทางการสอดหัวสวน ให้ปลายหัวสวนมุ่งไปทิศทางสะดือลึกประมาณ 2 นิ้วแล้วเบนปลายกลับให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลังตามลักษณะโค้งของลำไส้
9) ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่ หลังจากที่ปล่อยสารน้ำเข้าไปในลาไส้ใหญ่จนผู้ป่วยรู้สึกทนต่อไปไม่ได้ ควรให้ผู้ป่วยหายใจทางปากยาว ๆ
10) การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
1) การระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
2) ผนังลำไส้ถลอก หรือทะลุ
3) ภาวะเป็นพิษจากน้ำ
4) การติดเชื้อ เช่นลาไส้อักเสบ ตับอักเสบ
5) การคั่งของโซเดียม เพราะปกติลาไส้จะดูดซึมโซเดียมได้ดีมาก
6) ภาวะ Methemoglobinemia เป็นภาวะที่เม็ดเลือดแดงในร่างกายลดความสามารถในการขนส่งออกซิเจนลง
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
1) ลำไส้อุดตัน (Bowel obstruction)
2) มีการอักเสบของลำไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นต้น
3) มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Infection of abdomen)
4) ผู้ปุวยภายหลังผ่าตัดลาไส้ส่วนปลาย (Post rectal surgery)
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
2) การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง (Occult blood) ตรวจในรายที่สงสัยว่า มีเลือดแฝงในอุจจาระ
3) การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ (Stool culture) เพื่อนำไปเพาะเชื้อ เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและดูความไวต่อยาของเชื้อที่เพาะได้
1) การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ (Fecal examination หรือ Stool examination)
วัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร
การตรวจอุจจาระ เป็นการตรวจสุขภาพพื้นฐานการตรวจหนึ่ง หรือการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นของโรคระบบทางเดินอาหาร การตรวจอุจจาระ เป็นการตรวจที่ง่าย
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
2) ใบส่งตรวจ
3) ไม้แบน สาหรับเขี่ยอุจจาระ
4) กระดาษชาระ
5) หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจหาความผิดปกติ และส่งตรวจหาเลือดแฝง
2) ให้ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง ใช้ไม้แบนเขี่ย
อุจจาระจำนวนเล็กน้อยใส่ภาชนะ
3) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
1) อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
4) ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
2) ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที พร้อมใบส่งตรวจ
3) ลงบันทึกทางการพยาบาล ลักษณะ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
1) ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย ใช้ไม้พันสำลีใส่เข้าไปในรูทวาร 1-2 นิ้ว แล้วจุ่มไม้พันสาลีลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ ปิดฝาทันที
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
หมายถึง การขับถ่ายซึ่งอุจจาระมีลักษณะแห้งแข็ง ต้องออกแรงมากช่วยในการเบ่งเพื่อขับอุจจาระออกมาลาบากเกิดความเจ็บปวดเมื่อถ่ายอุจจาระ และมีอาการอยากถ่าย
สาเหตุ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ โดยภาวะท้องผูกปฐมภูมินี้มีความสัมพันธ์กับการ
รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ภาวะขาดน้ำ การเคลื่อนไหวลดลงแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ อาจเกิดจากความเจ็บป่วยหรือการรักษาด้วยยา
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง ไม่สุขสบายเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะวิงเวียน
เกิดอาการปากแตก ลิ้นแตก ลมหายใจเหม็น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid) เกิดจากอุจจาระที่แห้งแข็งกดหลอด
เลือดดารอบๆ ทวารหนัก ทาให้เลือดไหลกลับไม่สะดวกเกิดโปุงพอง และแตกได้
ภาวะที่ผู้ป่วยเกิดมีอาการทางสมอง ได้แก่สับสน ซึม และโคม่า ซึ่งเป็นผลจากภาวะตับวาย อาการรุนแรงเรียกว่า Hepatic coma ทำให้เสียชีวิตได้
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง หรือผนังลำไส้หย่อนตัวเป็นถุงสะสมอุจจาระไว้ พบในผู้ป่วยสูงอายุ หรือผู้ป่วยอัมพาต
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence) เนื่องจากก้อนอุจจาระไปกดปลาย
ประสาทของกล้ามเนื้อหูรูดที่ควบคุมการขับถ่ายสูญเสียหน้าที่
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
เป็นการสะสมของอุจจาระที่แห้งแข็งในลาไส้ตรงและ
น้ำถูกดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกายเรื่อย ๆ อุจจาระยิ่งแห้งแข็งมาก
สาเหตุ อาการเริ่มแรก
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว พบอุจจาระเป็นน้ำเหลวไหวซึมทางทวารหนักทีละเล็กละน้อยอย่างควบคุมไม่ได้ ซึ่งต่างจากท้องเดิน
ผู้ปุวยจะรู้สึกปวดท้องมาก ปวดอุจจาระ อยากถ่ายตลอดเวลาแต่ถ่ายไม่ออก
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
การล้วงอุจจาระออกโดยตรง เป็นการช่วยเหลือผู้ปุวยในกรณีที่ผู้ปุวยถ่ายอุจจาระออกเองไม่ได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถุงมือสะอาด 2 คู่ และหน้ากากอนามัย (Mask)
2) สารหล่อเลื่อน เจล หล่อลื่น ถ้าไม่มีใช้วาสลิน หรือสบู่เหลว
3) ผ้ายางรองก้นและกระดาษชำระ
4) หม้อนอนหรือ ถุงพลาสติกสำหรับใช่อุจจาระ
ภาวะท้องอืด (Flatulence หรือ Abdominal distention)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม ไม่สบายในท้องซึ่งเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากลมภายในลำไส้ ทำให้เกิดอาการต่าง ๆ
สาเหตุ
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย รับประทานอาหารมาก
เกินไป หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลาไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก เนื่องจากไม่ได้ขับถ่ายออกตามปกติ
ปริมาตรของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียง
สาเหตุจากได้รับยาระงับปวดที่มีอาการข้างเคียงทำให้ลดการ
เคลื่อนไหวของลำไส้
2) ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู การคลำ การเคาะและการฟัง Bowel
sound ลงบันทึกไว้ทุก 4 ชั่วโมงตามเวลาวัดสัญญาณชีพ
3) พิจารณาให้ยารับงับปวดตามความจาเป็น (PRN) โดยการประเมิน
คะแนนความเจ็บปวดทุกครั้ง
1) สังเกตอาการท้องอืดโดยการสอบถามผู้ปุวยถึงอาการท้องอืด
สาเหตุจากอาหารไม่ย่อย
1) สังเกตอาการท้องอืดโดยการสอบถามผู้ป่วยถึงอาการท้องอืด
2) ตรวจร่างกายโดยวิธีการดู การคลำ การเคาะและการฟัง Bowel
sound ลงบันทึกไว้ทุก 4 ชั่วโมงตามเวลาวัดสัญญาณชีพ
3) แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย หรืองดน้ำและอาหารทางปากชั่วคราวหรือจนกว่าอาการจะดีขึ้น หรือผายลมได้ทาให้อาการท้องอืดลดลง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ทาำห้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางร่างกาย มักเกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนัก
ผลของการกลั้นอุจจาระไม่ได้
ผลด้านร่างกาย
เนื่องด้วยการขับถ่ายอุจจาระที่ควบคุมไม่ได้ จึงทาให้มีอุจจาระไหลออกมาโดยไม่รู้ตัว
ผลด้านจิตใจ
อุจจาระจึงทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกมีคุณค่าและความนับถือต่อตนเอง และอาจส่งผลรุนแรงมากขึ้นจากปฏิกิริยาของบุคคลที่อยู่รอบข้าง
ผลด้านสังคม
การถ่ายอุจจาระ เป็นเรื่องส่วนตัวที่ต้องควรระมัดระวัง เมื่อการกลั้น
อุจจาระไม่ได้ เป็นเรื่องน่าอับอายส่งผลให้ไม่ต้องการออกสังคม
ผลด้านจิตวิญญาณ
ความรู้สึกเสียคุณค่าในตนเองลดลง และขาดการแสดงออกถึงความต้องการการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนากลัวสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตนเองในอนาคต
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
หมายถึง การเพิ่มจานวนครั้งของการถ่ายอุจจาระและการที่อุจจาระเป็นน้ำเหลว หรือมีมูกปน โดยถือว่าถ่ายเป็นน้ำเหลว 3 ครั้งในเวลา 12 ชั่วโมง
สาเหตุของภาวะท้องเสีย
2) จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และอารมณ์ จนทาให้เกิดการเจ็บป่วยที่แสดงออกทางร่างกาย เรียกว่า “Psychosomatic disorder”
3) การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
1) จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
ผลที่เกิดจากภาวะท้องเสีย
เกิดภาวะเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย (Electrolyte imbalance)
สูญเสียทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย น้ำหนักลด มีอาการของภาวะการขาดน้ำ (Dehydration)
เกิดความไม่สุขสบาย ปวดท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้และการถ่าย
อุจจาระหลาย ๆ ครั้ง เป็นการรบกวนการใช้ชีวิตประจาวันและการพักผ่อน
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การผ่าตัดเอาลาไส้มาเปิดออกทางหน้าท้อง เพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ มักทาในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ลำไส้
ชนิดของ Stoma ที่เป็นช่องทางขับถ่ายอุจจาระ จาแนกออกเป็น 2 ชนิด
Colostomy
เป็นทวารหนักชนิดลำไส้ใหญ่ ลำไส้ที่นำมาเปิดออกหน้าท้องมี
ตำแหน่ง
Ileostomy
เป็นทวารหนักชนิดลำไส้เล็ก ลาไส้ที่นามาเปิดออกจะเป็นส่วนปลายของ
ลำไส้เล็ก (Ileum) อยู่ที่หน้าท้องส่วนล่างด้านขวา