Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 4 การดูแลทารกแรกเกิด, รอบอก 32 เซนติเมตร, ความยาว 50…
สถานการณ์ที่ 4 การดูแลทารกแรกเกิด
การตรวจร่างกาย
พยาบาลตบที่เบาะ
ทารกมีอาการผวา (Moro reflex)
เป็นอาการปกติ
จะหายไปเองเมื่อ 4-5 เดือน
เส้นรอบศีรษะ 33 เซนติเมตร
ปกติ เนื่องจากความยาวเส้นรอบศีรษะของทารก 35 +2
ผิดปกติ
ติ่งเนื้อเล็ก ๆ บริเวณหู
การพยาบาล
1.ควรเข้าปรึกษาแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจและวินิจฉัยและรับการรักษาโดยการผ่าตัดชิ้นเนื้อออกและตรวจสอบหรือประเมินการได้ยินของทารก
2.อธิบายให้มารดาทราบติ่งเนื้อนี้ว่าเกิดจากความผิดปกติระหว่างที่หูกำลังเจริญเติบโตหู แต่อยู่ในครรภ์ช่วง 5-6 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ
3.แนะนำให้มารดาต้องคอยสังเกตความผิดปกติต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นต้องรีบพบแพทย์ เช่น การติดเชื้อ ปวด บวม
RR 62 bpm.
ติดตามสัญญาณชีพสังเกตบันทึกการหายใจ
จัดท่าทารกให้ลำคอเหยียดตรง
ดูแลอุณหภูมิให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (36.9-371)
ติดตามค่าออกซิเจนให้เลือด
ปกติ
ลายฝ่าเท้าประมาณ 2/3 จากปลายเท้า
หัวนมมีขนาด 3-4 mm
ใบหูคืนกลับเมื่อพับหู
มีจุดสีขาวบริเวณจมูกด้านซ้าย (Milia)
คำแนะนำ
ให้ข้อมูลแก่มารดาว่าเป็นอาการที่พบได้ทั่วไปไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อทารกและสามารถหายได้เองภายในไม่กี่สัปดาห์
แนะนำให้มารดาใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำอุ่นหมาด ๆ วางลงบนผิวหนังของทารกจนกระทั่งเย็นและทําซ้ำ 3 ครั้งต่อวันทุกวันอย่างน้อย 1 สัปดาห์
เกิดใน 1-7 วันหลังคลอด
เกิดจากการสะสมของเคราตินหรือโปรตีนซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ผลิตมากเกินไปทำให้น้ำมันและเซลล์ผิวที่ตายแล้วอุตตันรูขุมขนของผิวทารก
แคมใหญ่มีขนาดเท่ากับแคมเล็ก
แขนขาแบะออกแขนงอเล็กน้อยวัดมุมข้อมือได้ 45 องศาเข่างอเล็กน้อย
สัญญาณชีพ
อุณหภูมิกาย 37.2 องศา (ปกติ 36.5-37. 5) (เกรียงศักดิ์จีระแพทย์, 2559)
อัตราการหายใจ 62 bpm (ปกติ 60-80 bpm) (เอกสารประกอบการสอนการดูแลทารกแรกเกิด, 2563)
อัตราการเต้นของหัวใจ 144 bpm (ปกติ 110-160 bpm)
Apgar score
คะแนน 5-7 (Mid asphyxia)
ทารกกลุ่มนี้การขาดออกซิเจนและมีความเป็นกรดมากกว่าาหรือถูกกดจากยามากกว่าทารกมีอาการเขียวทั้งตัวการหายใจอ่อนมากความตึงตัวของกล้ามเนื้ออ่อนมากและอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง / นาทีซึ่งเป็นสัญญาณว่าทารกต้องได้รับการช่วยหายใจทารกจะตอบสนองการหายใจด้วยการใช้ bag และ mask โดยการให้ออกซิเจน 100% และความดันที่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของทรวงอกควรให้การช่วยการหายใจจนกว่าทารกจะตัวแดงอย่างใกล้ชิดในตู้อบและตรวจทางห้องปฏิบัติ
คะแนน 8-10 (No asphyxin)
ทารกมีการขาดออกซิเจนอย่างอ่อนเกิดขึ้นเป็นช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ก่อนคลอดหรือถูกกดจากยาที่มารดาไดเรับก่อนคลอดเพียงเล็กน้อยทารกจะมีอาการเขียวทั้งตัวหรือบางส่วนการช่วยเหลืออาจกระตุ้นการหายใจด้วยการใช้นิ้วมือตีหรือดีดฝ่าเท้าทารกหรือใช้ผ้าถูหน้าอกบริเวณ Sternum หรือหลังให้ออกซิเจนผ่าน mask ที่ถือเหนือหน้าทารกอัตราการไหลของออกซิเจน 4 ลิตรต่อนาทีถ้ามารดาได้ยาแก้ปวดกลุ่ม Narcotic และทารกมีการหายใจถูกกดตัวแดงไม่ Active หายใจช้าไม่สม่ำเสมอควรให้ Noloxone เพื่อแก้ฤทธิ์
คะแนน 0-2 (Severe asphyxia)
ทารกขาดออกซิเจนอย่างมากมีความเป็นกรดสูงทารกมีลักษณะเขียวคล้ำมากไม่หายใจหรือหายใจเฮือกทารกต้องได้รับการช่วยเหลือการหายใจทันทีที่คลอดเสร็จโดยการใส่ Endotracheal tube และช่วยการหายใจด้วย Bag โดยใช้ออกซิเจน 100% พร้อมกับการนวดหัวใจถ้ายังไม่มีการเต้นของหัวใจภายใน 1 นาทีหรืออัตราการเต้นของหัวใจ <100 ครั้งต่อนาทีหลังการนวดหัวใจและให้การช่วยหายใจด้วยออกซิเจนเป็นเวลา 2 นาทีทารกควรได้รับการใส่สาย Umbilical venous Catheter เพื่อให้โซเดียมไบคาร์บอเนตสารน้ำและยาอื่นที่จำเป็น
การดูแลทารกแรกเกิด
ควบคุมอุณหภูมิ
ผ้ารับเด็กอยู่ใน Set ผ้ารับเด็กเปิดเตรียมใต้ Radiant Warmer
ปิดแอร์ทันทีเมื่อศีรษะทารกผ่านพ้นช่องคลอดของมารดา
เพื่อรักษาอุณหภูมิร่างกายของทารกที่จะสูญเสียไปแบบการพาความร้อน
เปิดเครื่อง Radiant Warmer ก่อนคลอด 15 นาทีภาวะคลอดปกติตั้งค่า Radiant Warmer อุณหภูมิ 36.5 องศาเซลเซียส
นำผ้าที่อุ่นใต้ Radiant Warmer เช็ดตัวเด็กแล้วนำผ้าเปียกออก
เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนแบบการนำความร้อน
ปรับระดับอุณหภูมิห้องคลอดให้ได้ 26 องศา
เช็ดตัวทารกทันทีแรกเกิดหลังจากการช่วยเหลือเบื้องต้นนำทารกที่เปลื่อยไปให้แม่เพื่อทำ skin to skin เพื่อสร้าง Bonding and Attachment พร้อมนำผ้าอุ่นห่อตัวทารกและให้ทารกดูดนมแม่ 5-10 นาที
ตรวจร่างกายทั่วไป ดูความพิการแต่กำเนิด วัดความยาวลำตัว รอบอก รอบศีรษะ รวมถึงการป้ายตาทำใต้ Radiant Warmer
หลังคลอด 2 ชั่วโมง
ดูแลทารกโดยวัดสัญญาณชีพทุก 30 นาทีจำนวน 2 ครั้งและ 1 ชั่วโมงจำนวน 1 ครั้ง
ดูแลทารกไม่ให้นอนแช่ปัสสาวะหรืออุจจาระ
วัดอุณหภูมิกายทางทวารหนัก โดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะแก้ว สอดปรอทลึก 3 ซม. นาน 3 นาที
โดยใช้ปรอทที่ทาวาสลีนวัดอุณหภูมิ
ตกแต่งสะดือ การผูกป้ายข้อมือให้ถูก ชื่อ นามสกุล เพศเวลาเกิด ทำภายใต้ Radiant Warmer
การดูแลป้ายตา
หยอดตาด้วย 0.1% AgNO3 ที่หัวตาข้างละ 1 หยดหรืออาจใช้ terramycin eye ointment ป้ายตาทั้งสองข้าง
เพื่อป้องกันการติดเชื้อหนองใน
เช็ดตาทันทีด้วย 0.9% N.S.S.
เช็ดตาอีกครั้งด้วย 0.9% N.S.S.
เพื่อเช็ดเอาน้ำยาที่เกินออก
ลดการระคายเคืองผิวหนัง
การดูสายสะดือ
2.ห้ามใช้แป้งและยาโรยสะดือ
สังเกตอาการผิดปกติบ่งบอกว่าติดเชื้อ
มีหนอง
มีกลิ่นเหม็น
มีเลือด
บริเวณสะดือมีอาการบวมแดง
แอลกอฮอล์ 70% เช็ดรอบ ๆ โคนสะดือแล้วเช็ดขึ้นไปหาขั้วสะดือ
ยาที่ควรได้รับ
BCG
ขนาด 0.1 ml
Intracutaneous ส่วนล่าง deltoid
ป้องกันวัณโรค
Hepatitis B1
ขนาด 0.5 ml
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหน้า
Vitamin K 1
ช่วยในการแข็งตัวของเลือดให้เร็วขึ้นป้องกันเลือดออกผิดปกติ
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า
ขนาด 0.5-1 mg
Ballard score
14x2 = 26-35 สัปดาห์ (preterm)
สายฝ่าเท้าประมาณ 2/3 3 คะแนน
หัวนมมีขนาด 3-4mm 3 คะแนน
ขนอ่อนหลังและไหล่เล็กน้อย 3 คะแนน
ใบหูคืนกลับพอใช้เมื่อพับใบหู 2 คะแนน
ผิวหนังทารกเห็นเส้นเลือดเล็กน้อย 1 คะแนน
แคมใหญ่มีขนาดเท่ากับแคมเล็ก 2 คะนน
รอบอก 32 เซนติเมตร
ปกติ เนื่องจากรอบอกจะมีความยาว 30.5-33 เซนติเมตร
ความยาว 50 เซนติเมตร
ปกติในทารกแรกเกิดความยาวอยู่ที่ 50 ซม.
ผิวหนังเห็นเส้นเลือดเล็กน้อยมีขนอ่อนที่หลังและไหล่
นางสาวภวิษย์พร บูรวัตร 61106662