Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ, image, image, image, image - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระจึงเป็นสิ่งสาคัญ เพราะเป็นการขับของเสียออกจากร่างกาย
หากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทาให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ (Age)
ชนิดของอาหารที่รับประทาน (Food intake)
ปริมาณน้าที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body movement)
อารมณ์ (Emotion)
ความสม่าเสมอในการขับถ่าย (Defecation habits )
ความเหมาะสม (Opportunity)
ยา (Medication)
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
อาการปวด (Pain)
การผ่าตัดและการดมยาสลบ (Surgery and Anesthesia)
การตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
Type 1
Separate hard lumps, like nuts (Difficult to pass)
ลักษณะแข็งคล้ายเมล็ดถั่ว คนไทยเรียกว่า “ขี้แพะ”
Type 2
Sausage shaped but lumpy
(ลักษณะยาวแต่เป็นก้อน)
Type 3
Like a sausage but with cracks on surface
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน แต่พื้นผิวบนนุ่ม ๆ)
Type 4
Like a sausage or snake, smooth and soft
(ลักษณะยาวหรือขดม้วน เรียบ และนุ่ม)
Type 5
Soft blobs with clear-cut edges
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่ม ๆ แยกออกจากันชัดเจน)
Type 6
Fluffy pieces with ragged edges, a mushy stool
(ลักษณะเป็นก้อนนุ่มปุย มีขอบขยักไม่เรียบ)
Type 7
Watery, no solid pieces (entirely liquid)
(ลักษณะเป็นน้าไม่มีเนื้ออุจจาระปน)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ภาวะท้องผูก (Constipation)
สาเหตุ ภาวะท้องผูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภ
ภาวะท้องผูกแบบปฐมภูมิ
ภาวะท้องผูกแบบทุติยภูมิ
ฝิ่น
การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการทาหน้าที่ของไขสันหลั
ภาวะท้องผูกจากการลดลงของการเคลื่อนไหวของลาไส้
การทาหน้าที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อพื้นเชิงกราน
ภาวะผิดปกติของลาไส้
ผลที่เกิดจากภาวะท้องผูก
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด
เกิดอาการปากแตก
เป็นโรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
แบคทีเรียในลาไส้
ถ้าทิ้งไว้นานอุจจาระอาจอัดกันเป็นก้อนแข็ง
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Incontinence)
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องผูก
แนะนำให้ความรู้
แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ปุวยรับประทานอาหารให้มากเพียงพอ
แนะนำ กระตุ้น และช่วยให้ผู้ปุวยได้รับน้าให้เพียงพอ
แนะนำและช่วยเหลือเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
จัดสรรเวลาในตอนเช้า
แนะนำให้ออกกาลังกาย
สังเกตความถี่การใช้ยาระบายหรือยาถ่าย
แนะนำสมุนไพรซึ่งเป็นอาหาร
การอัดแน่นของอุจจาระ (Fecal impaction)
สาเหตุ อาการเริ่มแรก คือ ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีการอัดแน่นของอุจจาระ
การล้วงอุจจาระ (Evacuation)
การล้วงอุจจาระออกโดยตรง
ภาวะท้องอืด (Flatulence
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่ผายลม
มีการสะสมของอาหารหรือน้ามาก อาหารไม่ย่อย
การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะท้องอืด
จัดท่านอน ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
การกลั้นอุจจาระไม่ได้ (Fecal incontinence)
ให้มีการถ่ายอุจจาระและผายลมออกมาทันทีเมื่อรู้สึกปวดถ่าย
ภาวะท้องเสีย (Diarrhea)
การเพิ่มจานวนครั้งของการถ่ายอุจจาระ
และการที่อุจจาระเป็นน้าเหลว หรือมีมูกปน
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง (Fecal diversion)
การผ่าตัดเอาลาไส้มาเปิดออกทางหน้าท้อง เพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ มักทาในผู้ปุวยที่มีพยาธิสภาพที่ลาไส้
การพยาบาลผู้ป่วยที่ถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การทำความสะอาดช่องเปิดของลำไส้ และผิวหนังรอบ ๆแบ่งเป็น 3ระยะ
ระยะที่ 1 หลังผ่าตัด 4-5 วัน
ระยะที่ 2 หลังผ่าตัด 7-10 วัน
ระยะที่ 3 หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกาลังกายและการทางาน
การฝึกหัดการขับถ่าย โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ภาวะแทรกซ้อน สังเกตและดูแลตนเอง